question_id
stringlengths 24
24
| article_id
stringlengths 20
20
| title
stringlengths 1
179
| context
stringlengths 52
7.28k
| question
stringlengths 4
234
| answers
stringlengths 118
226
| answers_text
stringlengths 1
100
|
---|---|---|---|---|---|---|
zcms61solqiznuu9o67c_002 | zcms61solqiznuu9o67c | ปลาน้ำหมึก | ปลาน้ำหมึก (อังกฤษ: stream barilius) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า opsarius pulchellus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) รูปร่างคล้ายปลาน้ำหมึกโคราช (o. koratensis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน ต่างกันที่น้ำหมึกมีลำตัวที่ป้อมสั้นกว่า ปลายปากป้าน มีสีสันที่สดใสกว่าและลายขีดข้างลำตัวใหญ่และชัดเจนกว่า เกล็ดมีขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังมีแต้มสีแดงเห็นชัดเจน มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร
พบอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่และลำธารในป่าและเชิงเขาที่น้ำสะอาดไหลแรงที่ภาคเหนือของประเทศไทย พบในแม่น้ำโขงด้วย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน มีพฤติกรรมมักแย่งชิงตัวเมียกันในฤดูผสมพันธุ์ โดยปลาตัวผู้จะใช้หัวและลำตัวฟาดคู่ต่อสู้ บริเวณส่วนหัวจะมีตุ่มขึ้นในฤดูนี้
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม | ปลาน้ำหมึกมีขนาดโตเต็มที่กี่เซนติเมตร | {'text': array(['มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร'], dtype=object), 'answer_start': array([362], dtype=int32), 'answer_end': array([387], dtype=int32)} | มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร |
zcms61solqiznuu9o67c_003 | zcms61solqiznuu9o67c | ปลาน้ำหมึก | ปลาน้ำหมึก (อังกฤษ: stream barilius) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า opsarius pulchellus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) รูปร่างคล้ายปลาน้ำหมึกโคราช (o. koratensis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน ต่างกันที่น้ำหมึกมีลำตัวที่ป้อมสั้นกว่า ปลายปากป้าน มีสีสันที่สดใสกว่าและลายขีดข้างลำตัวใหญ่และชัดเจนกว่า เกล็ดมีขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังมีแต้มสีแดงเห็นชัดเจน มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร
พบอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่และลำธารในป่าและเชิงเขาที่น้ำสะอาดไหลแรงที่ภาคเหนือของประเทศไทย พบในแม่น้ำโขงด้วย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน มีพฤติกรรมมักแย่งชิงตัวเมียกันในฤดูผสมพันธุ์ โดยปลาตัวผู้จะใช้หัวและลำตัวฟาดคู่ต่อสู้ บริเวณส่วนหัวจะมีตุ่มขึ้นในฤดูนี้
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม | ปลาน้ำหมึกนั้นนิยมนำมาทำอะไร | {'text': array(['นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม'], dtype=object), 'answer_start': array([640], dtype=int32), 'answer_end': array([663], dtype=int32)} | นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม |
zcms61solqiznuu9o67c_004 | zcms61solqiznuu9o67c | ปลาน้ำหมึก | ปลาน้ำหมึก (อังกฤษ: stream barilius) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง
มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า opsarius pulchellus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) รูปร่างคล้ายปลาน้ำหมึกโคราช (o. koratensis) ซึ่งเป็นปลาในสกุลเดียวกัน ต่างกันที่น้ำหมึกมีลำตัวที่ป้อมสั้นกว่า ปลายปากป้าน มีสีสันที่สดใสกว่าและลายขีดข้างลำตัวใหญ่และชัดเจนกว่า เกล็ดมีขนาดใหญ่กว่า ครีบหลังมีแต้มสีแดงเห็นชัดเจน มีขนาดประมาณ 10 เซนติเมตร
พบอาศัยอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่และลำธารในป่าและเชิงเขาที่น้ำสะอาดไหลแรงที่ภาคเหนือของประเทศไทย พบในแม่น้ำโขงด้วย แต่ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน มีพฤติกรรมมักแย่งชิงตัวเมียกันในฤดูผสมพันธุ์ โดยปลาตัวผู้จะใช้หัวและลำตัวฟาดคู่ต่อสู้ บริเวณส่วนหัวจะมีตุ่มขึ้นในฤดูนี้
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม | ปลาน้ำหมึกนั้นไม่สามารถพบได้ที่แม่น้ำใด | {'text': array(['ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน'], dtype=object), 'answer_start': array([499], dtype=int32), 'answer_end': array([519], dtype=int32)} | ไม่พบในแม่น้ำสาละวิน |
zd7dfouflskecbjt9ocz_000 | zd7dfouflskecbjt9ocz | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย (ฝรั่งเศส: pierre joseph rossier; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886[1]) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน รวมถึงการภาพถ่ายสามมิติ และภาพการ์ตเดอวีซิตที่เป็นภาพถ่ายบุคคล ภาพทิวทัศน์ของเมือง และภาพภูมิทัศน์ เขาได้รับว่าจ้างจากบริษัท เนเกรตตีและแซมบรา (negretti and zambra) ในกรุงลอนดอนให้เดินทางมาทวีปเอเชียเพื่อบันทึกภาพกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศสในสงครามฝิ่นครั้งที่สอง แม้ไม่ได้ร่วมคณะทหารไปด้วย แต่เขายังคงอยู่ในทวีปเอเชียหลายปี โดยผลิตผลงานเพื่อการค้าเป็นครั้งแรกให้กับประเทศจีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และสยาม เขาถือเป็นช่างภาพอาชีพคนแรกของประเทศญี่ปุ่น ที่นั่นเขาได้สอนฟูรูกาวะ ชุมเป, คาวาโนะ เทโซ, อูเอโนะ ฮิโกมะ, มาเอดะ เก็นโซ, โฮริเอะ คูวาจิโร และช่างภาพรุ่นแรกคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงลดหลั่นไปของญี่ปุ่น ส่วนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาก่อตั้งสตูดิโอถ่ายภาพในเมืองฟรีบูร์และไอน์ซีเดิลน์ และยังคงผลิตภาพถ่ายในสถานที่อื่น ๆ ของประเทศ รอซีเยถือเป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของการถ่ายภาพ ไม่เพียงเพราะผลงานภาพถ่ายของเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะการสอนของเขาได้ส่งผลกระทบสำคัญแก่วงการถ่ายภาพญี่ปุ่นในยุคบุกเบิกด้วย | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเยคือใคร | {'text': array(['ช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน'], dtype=object), 'answer_start': array([106], dtype=int32), 'answer_end': array([153], dtype=int32)} | ช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน |
zd7dfouflskecbjt9ocz_001 | zd7dfouflskecbjt9ocz | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย (ฝรั่งเศส: pierre joseph rossier; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886[1]) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน รวมถึงการภาพถ่ายสามมิติ และภาพการ์ตเดอวีซิตที่เป็นภาพถ่ายบุคคล ภาพทิวทัศน์ของเมือง และภาพภูมิทัศน์ เขาได้รับว่าจ้างจากบริษัท เนเกรตตีและแซมบรา (negretti and zambra) ในกรุงลอนดอนให้เดินทางมาทวีปเอเชียเพื่อบันทึกภาพกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศสในสงครามฝิ่นครั้งที่สอง แม้ไม่ได้ร่วมคณะทหารไปด้วย แต่เขายังคงอยู่ในทวีปเอเชียหลายปี โดยผลิตผลงานเพื่อการค้าเป็นครั้งแรกให้กับประเทศจีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และสยาม เขาถือเป็นช่างภาพอาชีพคนแรกของประเทศญี่ปุ่น ที่นั่นเขาได้สอนฟูรูกาวะ ชุมเป, คาวาโนะ เทโซ, อูเอโนะ ฮิโกมะ, มาเอดะ เก็นโซ, โฮริเอะ คูวาจิโร และช่างภาพรุ่นแรกคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงลดหลั่นไปของญี่ปุ่น ส่วนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาก่อตั้งสตูดิโอถ่ายภาพในเมืองฟรีบูร์และไอน์ซีเดิลน์ และยังคงผลิตภาพถ่ายในสถานที่อื่น ๆ ของประเทศ รอซีเยถือเป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของการถ่ายภาพ ไม่เพียงเพราะผลงานภาพถ่ายของเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะการสอนของเขาได้ส่งผลกระทบสำคัญแก่วงการถ่ายภาพญี่ปุ่นในยุคบุกเบิกด้วย | ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเยเกิดเมื่อไร่ | {'text': array(['16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886'], dtype=object), 'answer_start': array([55], dtype=int32), 'answer_end': array([97], dtype=int32)} | 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886 |
zgwdk7bmnqqg4om6kqtp_000 | zgwdk7bmnqqg4om6kqtp | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (อังกฤษ: knifetooth sawfish, pointed sawfish;
ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล anoxypristis
โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด"
มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่
ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้
รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย
ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn) | ปลาฉนากจะงอยปากแคบมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่าอย่างไร | {'text': array(['ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata'], dtype=object), 'answer_start': array([66], dtype=int32), 'answer_end': array([105], dtype=int32)} | ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata |
zgwdk7bmnqqg4om6kqtp_001 | zgwdk7bmnqqg4om6kqtp | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (อังกฤษ: knifetooth sawfish, pointed sawfish;
ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล anoxypristis
โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด"
มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่
ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้
รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย
ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn) | ปลาฉนากจะงอยปากแคบจัดว่าเป็นปลาที่อยู่ในวงศ์ใด | {'text': array(['วงศ์ปลาฉนาก (pristidae)'], dtype=object), 'answer_start': array([132], dtype=int32), 'answer_end': array([155], dtype=int32)} | วงศ์ปลาฉนาก (pristidae) |
zgwdk7bmnqqg4om6kqtp_003 | zgwdk7bmnqqg4om6kqtp | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (อังกฤษ: knifetooth sawfish, pointed sawfish;
ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล anoxypristis
โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด"
มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่
ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้
รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย
ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn) | ปลาฉนากจะงอยปากแคบเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์เลยขึ้นบัญชีของอะไร | {'text': array(['บัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn)'],
dtype=object), 'answer_start': array([832], dtype=int32), 'answer_end': array([903], dtype=int32)} | บัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn) |
zgwdk7bmnqqg4om6kqtp_004 | zgwdk7bmnqqg4om6kqtp | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ | ปลาฉนากจะงอยปากแคบ (อังกฤษ: knifetooth sawfish, pointed sawfish;
ชื่อวิทยาศาสตร์: anoxypristis cuspidata) ปลากระดูกอ่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาฉนาก (pristidae) จัดเป็นปลาฉนากเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล anoxypristis
โดยมาจากภาษากรีก oxy (οξυ) หมายถึง "คม", pristis (πρίστης) หมายถึง "เลื่อย" และ custidata มาจากภาษาละตินคำว่า cuspidatus หมายถึง "จุด"
มีรูปร่างเหมือนปลาฉนากทั่วไป แต่มีรูปร่างเพรียวกว่า ส่วนหัวแคบกว่า สีลำตัวเป็นสีน้ำตาลหรือสีเทา จะงอยปากแคบกว่าปลาฉนากจะงอยปากกว้าง (pristis microdon) และมีจำนวนซี่ฟันมากกว่า คือ มีจำนวน 23-35 คู่
ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร เป็นปลาฉนากอีกชนิดหนึ่งที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืดได้ พบตามชายฝั่งของทะเลอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง, อ่าวเปอร์เซีย, ปาปัวนิวกินี, ออสเตรเลียทางตอนเหนือ, ญี่ปุ่นตอนใต้
รวมถึงปากแม่น้ำขนาดใหญ่ในประเทศไทยด้วย
ปลาฉนากจะงอยปากแคบ จัดเป็นปลาที่ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตตามบัญชีของสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (iucn) | ปลาฉนากจะงอยปากแคบมีขนาดโตเต็มที่กี่เมตร | {'text': array(['ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร '], dtype=object), 'answer_start': array([543], dtype=int32), 'answer_end': array([567], dtype=int32)} | ขนาดโตเต็มที่ราว 4 เมตร |
zhriumozsumn95l2ppm9_000 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | วสุ ห้าวหาญคือใคร | {'text': array(['ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง'],
dtype=object), 'answer_start': array([20], dtype=int32), 'answer_end': array([108], dtype=int32)} | ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง |
zhriumozsumn95l2ppm9_002 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | วสุ ห้าวหาญเคยอยู่ค่ายเพลงใดหลังออกจากค่ายรถไฟดนตรี | {'text': array(['แกรมมี่โกลด์'], dtype=object), 'answer_start': array([831], dtype=int32), 'answer_end': array([843], dtype=int32)} | แกรมมี่โกลด์ |
zhriumozsumn95l2ppm9_003 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | วสุ ห้าวหาญเคยออกอัลบั๊มกับค่ายใดก่อนมาอยู่กับแกรมมี่โกลด์ | {'text': array(['ค่ายรถไฟดนตรี'], dtype=object), 'answer_start': array([312], dtype=int32), 'answer_end': array([325], dtype=int32)} | ค่ายรถไฟดนตรี |
zhriumozsumn95l2ppm9_004 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | วสุ ห้าวหาญอยู่ค่ายเพลงใดหลังจากออกจากค่ายแกรมมี่โกลด์ | {'text': array(['ค่ายสหภาพดนตรี'], dtype=object), 'answer_start': array([652], dtype=int32), 'answer_end': array([666], dtype=int32)} | ค่ายสหภาพดนตรี |
zhriumozsumn95l2ppm9_005 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | วสุ ห้าวหาญปัจจุบันอยู่ค่ายใด | {'text': array(['แกรมมี่โกลด์'], dtype=object), 'answer_start': array([831], dtype=int32), 'answer_end': array([843], dtype=int32)} | แกรมมี่โกลด์ |
zhriumozsumn95l2ppm9_006 | zhriumozsumn95l2ppm9 | วสุ ห้าวหาญ | ประวัติ
วสุ ห้าวหาญ ศิลปินนักประพันธ์เพลงแนวลูกทุ่ง เพื่อชีวิต เป็นทั้งนักร้องนักดนตรีและเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และได้ประพันธ์เพลงให้แก่ นักร้องหลายๆ คน อาทิ หนู มิเตอร์ , อ้อย กระท้อน(นึกเสียว่าสงสาร) และดังพลุแตกในเพลงที่ขับร้องโดย ตั๊กแตน ชลดา และ ต่าย อรทัยก่อนมาอยู่แกรมมี่โกลด์ วสุ เคยออกอัลบั้มและแต่งเพลงให้ค่ายรถไฟดนตรี เช่น แต่งเพลงให้ หนู มิเตอร์ อัลบั้ม สายลมใต้ปีก เกือบทั้งอัลบั้ม พอมาอยู่แกรมมี่โกลด์ ได้รับผิดชอบแต่งเพลงให้เสถียร ทำมือ ชุด กำลังใจที่เธอไม่รู้ เกือบทั้งอัลบั้ม เช่นเดียวกัน และนักร้องแกรมมี่อีกหลายๆคนในเวลาต่อมา ทั้งแต่งเพลงให้นักร้องลูกทุ่งแล้ว ยังเป็นโปรดิวเซอร์ให้กับค่ายแกรมมี่โกลด์อีกด้วย ปัจจุบันได้ลาออกมาร่วมงานกับค่ายสหภาพดนตรี เพื่อทำงานเพลงที่ตนเองอยากกจะทำร่วมกับเพื่อนพ้องน้องพี่ในวงการเพลงอีกมากมาย
ปัจจุบันอาจารย์วสุได้ลาออกจาก มิวสิกมูฟเอนเตอร์เทนเมนต์ (สหภาพดนตรีเดิม) กลับมาทำงานที่แกรมมี่โกลด์
การศึกษา
จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รุ่นที่ 25 ปัจจุบันทำงานเต็มรูปแบบให้กับแกรมมี่ ประพันธ์เพลง อาทิ เพลงทางเดินชาวดิน ให้ ไมค์ ภิรมย์พร ร้อง แล้วก็มาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ชุดหนาวแสงนีออน เช่น เพลงหนาวแสงนีออน เพลงนักร้องงานเลี้ยง เพลงคนของวันพรุ่งนี้ แล้วยังเขียนเพลงให้ต่าย อรทัย ร้องคือ เพลงวันที่บ่มีอ้าย เพลงให้ตายไปกับใจ เพลงคือรักหรือบ่ เพลงจนกว่าจะถึงวันนั้น นักร้องพี สะเดิด เพลงรักคนโทรมาจังเลย เพลงความต้องการทางแพทย์สูง นักร้องตั๊กแตน เพลงปลายทางของความคิดถึง เพลงดอกนีออนบานค่ำ เพลงอย่าโทรมาแค่ปลอบใจ เพลงแฟนเก็บ เพลงคืนใจให้กัน เพลงคำพิพากษา นักร้องไผ่พงศธร เพลงสุดท้ายคืออ้ายเจ็บ เพลงกลับมาถามหากำลังใจ เพลงคนบ้านเดียวกัน เพลงบังเอิญมีหัวใจ เพลงอยากบอกว่าอ้ายเหงา เพลงอยากมีเธอเป็นแฟน เพลงมีเธอจึงมีฝัน เพลงทบ2 ลูกอีสาน ฯลฯ นักร้องแสน นากา เพลงเก็บปากไว้กินข้าว เพลงดูถัวะ ดูถัวะ เพลงขอแสดงความคิดถึง นักร้องจักจั่น วันวิสา เพลงเมื่อถูกความรักหาเจอ เป็นต้น
วสุประสบความสำเร็จขั้นแรกเมื่อเพลง วันที่บ่มีอ้าย ที่เขาแต่งให้ ต่าย อรทัย คำร้อง ได้รับรางวัล เพชรในเพลง ของ กระทรวงวัฒนธรรม ในปีพ.ศ. 2548 และเพลง ทางเดินชาวดิน ที่เขาแต่งขับร้องโดย ไมค์ ภิรมย์พร ได้รับคัดเลือกให้ได้รางวัล เพลงยอดเยี่ยม, คำร้อง/ทำนองยอดเยี่ยม จากการประกาศผลรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปี พ.ศ. 2549 รวมทั้งเพลง หนาวแสงนีออน ที่เขาแต่งให้ ตั๊กแตน ชลดา ขับร้องได้รับคัดเลือกให้รับ รางวัลเพลงยอดเยี่ยม จากการประกาศรางวัล คมชัดลึก อวอร์ด ในปีพ.ศ. 2550 จากนั้นชื่อ วสุ ห้าวหาญ เริ่มเป็นที่อยากรู้จักมากขึ้น ในฐานะนักแต่งเพลงคลื่นลูกใหม่ มาแรง วสุ ตั้งปณิธานไว้ว่าจะช่วยครูสลา ตั้งทีมเขียนเนื้อเพลงให้คนรู้จักทั้งประเทศให้ได้เนื่องจากเขาคิดว่าแต่ก่อนครูสลา เขียนเนื้อเพลงแล้วไม่มีคนซื้อ เหมือนกาลิเลโอ ในอดีตที่บอกว่าโลกกลมต่อมาคนทั่วไปจึงรู้ความจริง ปณิธานของวสุจะเป็นจริงได้หรือไม่ท่านผู้อ่านใช้วิจารณญาณเอาเอง | จบการศึกษาปริญญาตรีจากที่ไหน | {'text': array(['คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น '], dtype=object), 'answer_start': array([876], dtype=int32), 'answer_end': array([910], dtype=int32)} | คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ziwcfjvdx3edkuf9bvwk_000 | ziwcfjvdx3edkuf9bvwk | ประพันธ์ บูรณุปกรณ์ | ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา
ประพันธ์ บูรณุปกรณ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2492 (70 ปี)
จังหวัดเชียงใหม่
พรรคการเมือง พรรคเพื่อไทย (2552-2555)
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่จากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และเป็นพี่ชายของนายปกรณ์ บูรณุปกรณ์ อดีตแกนนำกลุ่มวังบัวบานของพรรคไทยรักไทย
ประวัติ[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2492 ที่ตำบลช้างม่อย อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของนายใช้ กับนางจิตรา บูรณุปกรณ์[1] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์[2] และปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก middle tennessee university ประเทศสหรัฐอเมริกา[3]
การทำงาน[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ในสมัยของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคราษฎร แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และได้รับเลือกตั้งเป็นลำดับที่ 2 รองจากนายแพทย์ไกร ดาบธรรม[4] | นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดใด ? | {'text': array(['จังหวัดเชียงใหม่'], dtype=object), 'answer_start': array([232], dtype=int32), 'answer_end': array([248], dtype=int32)} | จังหวัดเชียงใหม่ |
ziwcfjvdx3edkuf9bvwk_002 | ziwcfjvdx3edkuf9bvwk | ประพันธ์ บูรณุปกรณ์ | ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา
ประพันธ์ บูรณุปกรณ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2492 (70 ปี)
จังหวัดเชียงใหม่
พรรคการเมือง พรรคเพื่อไทย (2552-2555)
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่จากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และเป็นพี่ชายของนายปกรณ์ บูรณุปกรณ์ อดีตแกนนำกลุ่มวังบัวบานของพรรคไทยรักไทย
ประวัติ[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2492 ที่ตำบลช้างม่อย อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของนายใช้ กับนางจิตรา บูรณุปกรณ์[1] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์[2] และปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก middle tennessee university ประเทศสหรัฐอเมริกา[3]
การทำงาน[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ในสมัยของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคราษฎร แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และได้รับเลือกตั้งเป็นลำดับที่ 2 รองจากนายแพทย์ไกร ดาบธรรม[4] | นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เกิดเมื่อวันที่ เท่าไหร่ ? | {'text': array(['12 เมษายน พ.ศ. 2492'], dtype=object), 'answer_start': array([69], dtype=int32), 'answer_end': array([88], dtype=int32)} | 12 เมษายน พ.ศ. 2492 |
ziwcfjvdx3edkuf9bvwk_003 | ziwcfjvdx3edkuf9bvwk | ประพันธ์ บูรณุปกรณ์ | ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา
ประพันธ์ บูรณุปกรณ์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 12 เมษายน พ.ศ. 2492 (70 ปี)
จังหวัดเชียงใหม่
พรรคการเมือง พรรคเพื่อไทย (2552-2555)
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่จากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และเป็นพี่ชายของนายปกรณ์ บูรณุปกรณ์ อดีตแกนนำกลุ่มวังบัวบานของพรรคไทยรักไทย
ประวัติ[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เกิดเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2492 ที่ตำบลช้างม่อย อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรของนายใช้ กับนางจิตรา บูรณุปกรณ์[1] สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์[2] และปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก middle tennessee university ประเทศสหรัฐอเมริกา[3]
การทำงาน[แก้]
นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ในสมัยของนายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคราษฎร แต่ไม่ได้รับเลือกตั้ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงใหม่ ในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 และได้รับเลือกตั้งเป็นลำดับที่ 2 รองจากนายแพทย์ไกร ดาบธรรม[4] | นายประพันธ์ บูรณุปกรณ์ เป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ เคยดำรงตำแหน่งรองนายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่ รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ในสมัยของใคร ? | {'text': array(['นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่'], dtype=object), 'answer_start': array([870], dtype=int32), 'answer_end': array([893], dtype=int32)} | นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ |
zjrqwdcjv1wt4zbety8z_000 | zjrqwdcjv1wt4zbety8z | สตรีหลับ (เฟอร์เมร์) | สตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะ[2] (อังกฤษ: a girl asleep หรือ a woman asleep at table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา
ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1657 เป็นภาพแรกๆ ที่เวร์เมร์เขียน อิทธิพลการเขียนของแรมบรังด์ในงานเขียนในช่วงนี้จะเห็นได้อย่างง่ายดายจากการใช้สีอันเรืองรองและการใช้ฝีแปรงสีหนา (impasto) บนภาพ | สตรีหลับ เป็นภาพเขียนประเภทอะไร | {'text': array(['สีน้ำมัน'], dtype=object), 'answer_start': array([98], dtype=int32), 'answer_end': array([106], dtype=int32)} | สีน้ำมัน |
zjrqwdcjv1wt4zbety8z_001 | zjrqwdcjv1wt4zbety8z | สตรีหลับ (เฟอร์เมร์) | สตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะ[2] (อังกฤษ: a girl asleep หรือ a woman asleep at table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา
ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1657 เป็นภาพแรกๆ ที่เวร์เมร์เขียน อิทธิพลการเขียนของแรมบรังด์ในงานเขียนในช่วงนี้จะเห็นได้อย่างง่ายดายจากการใช้สีอันเรืองรองและการใช้ฝีแปรงสีหนา (impasto) บนภาพ | สตรีหลับ เขียนโดยใคร | {'text': array(['โยฮันส์ เวร์เมร์'], dtype=object), 'answer_start': array([117], dtype=int32), 'answer_end': array([133], dtype=int32)} | โยฮันส์ เวร์เมร์ |
zjrqwdcjv1wt4zbety8z_002 | zjrqwdcjv1wt4zbety8z | สตรีหลับ (เฟอร์เมร์) | สตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะ[2] (อังกฤษ: a girl asleep หรือ a woman asleep at table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา
ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1657 เป็นภาพแรกๆ ที่เวร์เมร์เขียน อิทธิพลการเขียนของแรมบรังด์ในงานเขียนในช่วงนี้จะเห็นได้อย่างง่ายดายจากการใช้สีอันเรืองรองและการใช้ฝีแปรงสีหนา (impasto) บนภาพ | โยฮันส์ เวร์เมร์ ประคนประเทศอะไร | {'text': array(['เนเธอร์แลนด์'], dtype=object), 'answer_start': array([149], dtype=int32), 'answer_end': array([161], dtype=int32)} | เนเธอร์แลนด์ |
zjrqwdcjv1wt4zbety8z_003 | zjrqwdcjv1wt4zbety8z | สตรีหลับ (เฟอร์เมร์) | สตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะ[2] (อังกฤษ: a girl asleep หรือ a woman asleep at table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา
ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1657 เป็นภาพแรกๆ ที่เวร์เมร์เขียน อิทธิพลการเขียนของแรมบรังด์ในงานเขียนในช่วงนี้จะเห็นได้อย่างง่ายดายจากการใช้สีอันเรืองรองและการใช้ฝีแปรงสีหนา (impasto) บนภาพ | โยฮันส์ เวร์เมร์ อยู่ในสมัยไหน | {'text': array(['สมัยบาโรก'], dtype=object), 'answer_start': array([164], dtype=int32), 'answer_end': array([173], dtype=int32)} | สมัยบาโรก |
zjrqwdcjv1wt4zbety8z_004 | zjrqwdcjv1wt4zbety8z | สตรีหลับ (เฟอร์เมร์) | สตรีหลับ หรือ สตรีหลับที่โต๊ะ[2] (อังกฤษ: a girl asleep หรือ a woman asleep at table) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยโยฮันส์ เวร์เมร์จิตรกรคนสำคัญชาวเนเธอร์แลนด์ของสมัยบาโรก ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทันที่นครนิวยอร์กในสหรัฐอเมริกา
ภาพ “สตรีหลับ” ที่เขียนในปี ค.ศ. 1657 เป็นภาพแรกๆ ที่เวร์เมร์เขียน อิทธิพลการเขียนของแรมบรังด์ในงานเขียนในช่วงนี้จะเห็นได้อย่างง่ายดายจากการใช้สีอันเรืองรองและการใช้ฝีแปรงสีหนา (impasto) บนภาพ | ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์อะไร | {'text': array(['พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน'], dtype=object), 'answer_start': array([200], dtype=int32), 'answer_end': array([227], dtype=int32)} | พิพิธภัณฑ์ศิลปะเมโทรโพลิทัน |
zlphqgsfgm6p91tmrzja_000 | zlphqgsfgm6p91tmrzja | ออร์ซันมีเกเล | โบสถ์ออร์ซันมีเกเล (อิตาลี: chiesa di orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว
เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช[1] ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม[1] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์[1] ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม | ออร์ซันมีเกเล เป็นโบสถ์อะไร | {'text': array(['คาทอลิก'], dtype=object), 'answer_start': array([66], dtype=int32), 'answer_end': array([73], dtype=int32)} | คาทอลิก |
zlphqgsfgm6p91tmrzja_001 | zlphqgsfgm6p91tmrzja | ออร์ซันมีเกเล | โบสถ์ออร์ซันมีเกเล (อิตาลี: chiesa di orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว
เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช[1] ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม[1] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์[1] ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม | ออร์ซันมีเกเล ตั้งอยู่ที่เมืองอะไร | {'text': array(['เมืองฟลอเรนซ์'], dtype=object), 'answer_start': array([84], dtype=int32), 'answer_end': array([97], dtype=int32)} | เมืองฟลอเรนซ์ |
zlphqgsfgm6p91tmrzja_002 | zlphqgsfgm6p91tmrzja | ออร์ซันมีเกเล | โบสถ์ออร์ซันมีเกเล (อิตาลี: chiesa di orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว
เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช[1] ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม[1] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์[1] ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม | ออร์ซันมีเกเล อยู่ประเทศอะไร | {'text': array(['ประเทศอิตาลี'], dtype=object), 'answer_start': array([99], dtype=int32), 'answer_end': array([111], dtype=int32)} | ประเทศอิตาลี |
zlphqgsfgm6p91tmrzja_003 | zlphqgsfgm6p91tmrzja | ออร์ซันมีเกเล | โบสถ์ออร์ซันมีเกเล (อิตาลี: chiesa di orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว
เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช[1] ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม[1] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์[1] ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม | ออร์ซันมีเกเล ชื่อโบสถ์แปลว่าอะไร | {'text': array(['สวนครัวของนักบุญมีคาแอล'], dtype=object), 'answer_start': array([129], dtype=int32), 'answer_end': array([152], dtype=int32)} | สวนครัวของนักบุญมีคาแอล |
zlphqgsfgm6p91tmrzja_004 | zlphqgsfgm6p91tmrzja | ออร์ซันมีเกเล | โบสถ์ออร์ซันมีเกเล (อิตาลี: chiesa di orsanmichele) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกตั้งอยู่ที่เมืองฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ชื่อโบสถ์แปลว่า “สวนครัวของนักบุญมีคาแอล” เป็นโบสถ์ที่สร้างบนที่ที่เคยเป็นสวนครัว (kitchen garden) ของอารามซันมีเกลซึ่งปัจจุบันถูกยุบไปแล้ว
เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดค้าธัญญพืช[1] ในปี ค.ศ. 1337 โดยฟรานเชสโค ตาเลนติ, เนริ ดิ ฟิโอราวานเต และ เบนชิ ดิ ชิโอเน ระหว่างปี ค.ศ. 1380 ถึงปี ค.ศ. 1404 ก็เปลี่ยนไปเป็นโบสถ์ที่เป็นชาเปลของสมาคมพ่อค้าหัตกรรมและการค้า ชั้นล่างของสิ่งก่อสร้างเป็นซุ้มโค้งจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 ที่มีลักษณะเป็นระเบียง (loggia) ที่เดิมใช้สำหรับการค้าขาย ชั้นสองเป็นสำนักงาน และชั้นสามเป็นที่เก็บตุนข้าวในโอกาสที่เกิดความอดอยากหรือถูกล้อม[1] ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมาคมพ่อค้าก็ได้รับคำสั่งจากเมืองให้สร้างประติมากรรมของนักบุญองค์อุปถัมภ์เพื่อประดับด้านหน้าของโบสถ์[1] ประติมากรรมที่เห็นในปัจจุบันเป็นงานก็อปปีจากของเดิม | ออร์ซันมีเกเล เดิมสร้างขึ้นเพื่อเป็นตลาดอะไร | {'text': array(['ตลาดค้าธัญญพืช'], dtype=object), 'answer_start': array([275], dtype=int32), 'answer_end': array([289], dtype=int32)} | ตลาดค้าธัญญพืช |
zmxxct5fvi4kptj4lucu_000 | zmxxct5fvi4kptj4lucu | ปลากระเบนขาว | ปลากระเบนขาว (อังกฤษ: white-edge freshwater whipray; ชื่อวิทยาศาสตร์: himantura signifer) ปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (dasyatidae)
มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หางยาว โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่สามารถงอกใหม่ได้เมื่อหลุดหรือหักไป หางไม่มีริ้วหนัง พื้นลำตัวด้านบนสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ มีขอบสีขาวรอบลำตัว พื้นลำตัวด้านล่างสีขาว ส่วนหางสีขาว หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยอาหารได้แก่ ไส้เดือนน้ำ, ปลาขนาดเล็ก, สัตว์หน้าดิน และสัตว์มีเปลือก จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง ขนาดโดยเฉลี่ยมีความกว้าง 40 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 60 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 80 เซนติเมตร น้ำหนักไม่เกิน 3 กิโลกรัม
เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดที่พบชุกชุมมากที่สุดและมีขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย พบมากแถบที่ราบลุ่มภาคกลาง เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำท่าจีน, บึงบอระเพ็ด และพบที่แม่น้ำตาปีในภาคใต้ด้วย แต่ไม่มีรายงานพบในแม่น้ำบางปะกง โดยพบชุกชุมที่สุดที่เขตอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในต่างประเทศพบได้ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียช
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งบางครั้งมีการค้นพบปลาบางตัวที่มีสีขาว ดวงตาสีดำ หรือเป็นปลาเผือกทั้งตัว | ปลากระเบนขาวมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่าอย่างไร | {'text': array(['ชื่อวิทยาศาสตร์: himantura signifer'], dtype=object), 'answer_start': array([53], dtype=int32), 'answer_end': array([88], dtype=int32)} | ชื่อวิทยาศาสตร์: himantura signifer |
zmxxct5fvi4kptj4lucu_001 | zmxxct5fvi4kptj4lucu | ปลากระเบนขาว | ปลากระเบนขาว (อังกฤษ: white-edge freshwater whipray; ชื่อวิทยาศาสตร์: himantura signifer) ปลากระเบนน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (dasyatidae)
มีรูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิดอื่นในวงศ์เดียวกัน หางยาว โคนหางมีเงี่ยงแหลมมีพิษ 1 หรือ 2 ชิ้น ที่สามารถงอกใหม่ได้เมื่อหลุดหรือหักไป หางไม่มีริ้วหนัง พื้นลำตัวด้านบนสีเทาหรือสีน้ำตาลอ่อน กลางหลังมีเกล็ดเป็นตุ่มหยาบ ๆ มีขอบสีขาวรอบลำตัว พื้นลำตัวด้านล่างสีขาว ส่วนหางสีขาว หากินตามพื้นท้องน้ำ โดยอาหารได้แก่ ไส้เดือนน้ำ, ปลาขนาดเล็ก, สัตว์หน้าดิน และสัตว์มีเปลือก จะว่ายขึ้นมาหากินบริเวณผิวน้ำบ้างเป็นบางครั้ง ขนาดโดยเฉลี่ยมีความกว้าง 40 เซนติเมตร พบใหญ่ที่สุด 60 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 80 เซนติเมตร น้ำหนักไม่เกิน 3 กิโลกรัม
เป็นปลากระเบนน้ำจืดชนิดที่พบชุกชุมมากที่สุดและมีขนาดเล็กที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย พบมากแถบที่ราบลุ่มภาคกลาง เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา, แม่น้ำแม่กลอง, แม่น้ำท่าจีน, บึงบอระเพ็ด และพบที่แม่น้ำตาปีในภาคใต้ด้วย แต่ไม่มีรายงานพบในแม่น้ำบางปะกง โดยพบชุกชุมที่สุดที่เขตอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในต่างประเทศพบได้ที่มาเลเซียและอินโดนีเซียช
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งบางครั้งมีการค้นพบปลาบางตัวที่มีสีขาว ดวงตาสีดำ หรือเป็นปลาเผือกทั้งตัว | ปลากระเบนขาวก็ถือว่าเป็นปลากระเบนชนิดหนึ่งที่จัดอยู่ในวงศ์ใด | {'text': array(['วงศ์ปลากระเบนธง (dasyatidae)'], dtype=object), 'answer_start': array([121], dtype=int32), 'answer_end': array([149], dtype=int32)} | วงศ์ปลากระเบนธง (dasyatidae) |
zocbdwfemshid0f18ztp_000 | zocbdwfemshid0f18ztp | การเปิดหมากแบบชูซะกุ | การเปิดหมากแบบชูซะกุ (ญี่ปุ่น: 秀策流布石; อังกฤษ: shusaku opening) เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำในหมากล้อม ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดยฮงอินโบ ชูซะกุ
กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1930 ได้มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบชินฟุเซะกิ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การเปิดหมากแบบชูซะกุโดยมืออาชีพหลายราย ที่ใช้ในการแข่งขันแบบไม่มีแต้มต่อ ก็ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงประสิทธิภาพของมันได้เป็นอย่างดี | shusaku opening หรือเรียกว่า ? | {'text': array(['การเปิดหมากแบบชูซะกุ'], dtype=object), 'answer_start': array([0], dtype=int32), 'answer_end': array([20], dtype=int32)} | การเปิดหมากแบบชูซะกุ |
zocbdwfemshid0f18ztp_001 | zocbdwfemshid0f18ztp | การเปิดหมากแบบชูซะกุ | การเปิดหมากแบบชูซะกุ (ญี่ปุ่น: 秀策流布石; อังกฤษ: shusaku opening) เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำในหมากล้อม ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดยฮงอินโบ ชูซะกุ
กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1930 ได้มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบชินฟุเซะกิ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การเปิดหมากแบบชูซะกุโดยมืออาชีพหลายราย ที่ใช้ในการแข่งขันแบบไม่มีแต้มต่อ ก็ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงประสิทธิภาพของมันได้เป็นอย่างดี | เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำใน ที่ใด ? | {'text': array(['หมากล้อม'], dtype=object), 'answer_start': array([106], dtype=int32), 'answer_end': array([114], dtype=int32)} | หมากล้อม |
zocbdwfemshid0f18ztp_002 | zocbdwfemshid0f18ztp | การเปิดหมากแบบชูซะกุ | การเปิดหมากแบบชูซะกุ (ญี่ปุ่น: 秀策流布石; อังกฤษ: shusaku opening) เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำในหมากล้อม ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดยฮงอินโบ ชูซะกุ
กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1930 ได้มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบชินฟุเซะกิ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การเปิดหมากแบบชูซะกุโดยมืออาชีพหลายราย ที่ใช้ในการแข่งขันแบบไม่มีแต้มต่อ ก็ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงประสิทธิภาพของมันได้เป็นอย่างดี | ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดย ? | {'text': array(['ฮงอินโบ ชูซะกุ\n'], dtype=object), 'answer_start': array([169], dtype=int32), 'answer_end': array([184], dtype=int32)} | ฮงอินโบ ชูซะกุ |
zocbdwfemshid0f18ztp_003 | zocbdwfemshid0f18ztp | การเปิดหมากแบบชูซะกุ | การเปิดหมากแบบชูซะกุ (ญี่ปุ่น: 秀策流布石; อังกฤษ: shusaku opening) เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำในหมากล้อม ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดยฮงอินโบ ชูซะกุ
กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1930 ได้มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบชินฟุเซะกิ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การเปิดหมากแบบชูซะกุโดยมืออาชีพหลายราย ที่ใช้ในการแข่งขันแบบไม่มีแต้มต่อ ก็ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงประสิทธิภาพของมันได้เป็นอย่างดี | กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ ? | {'text': array(['ศวรรษที่ 1930'], dtype=object), 'answer_start': array([274], dtype=int32), 'answer_end': array([287], dtype=int32)} | ศวรรษที่ 1930 |
zocbdwfemshid0f18ztp_004 | zocbdwfemshid0f18ztp | การเปิดหมากแบบชูซะกุ | การเปิดหมากแบบชูซะกุ (ญี่ปุ่น: 秀策流布石; อังกฤษ: shusaku opening) เป็นการเปิดหมากแบบดั้งเดิมด้วยตัวหมากสีดำในหมากล้อม ซึ่งได้รับการพัฒนาให้สมบูรณ์ขึ้น (แต่ไม่ได้คิดค้น) โดยฮงอินโบ ชูซะกุ
กับตัวแปรของมัน ซึ่งประกอบด้วยพื้นฐานของทฤษฎีที่สำคัญของฟุเซะกิมาเกือบศตวรรษ กระทั่งช่วงทศวรรษที่ 1930 ได้มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบชินฟุเซะกิ อย่างไรก็ตาม กลยุทธ์การเปิดหมากแบบชูซะกุโดยมืออาชีพหลายราย ที่ใช้ในการแข่งขันแบบไม่มีแต้มต่อ ก็ยังเป็นเครื่องยืนยันถึงประสิทธิภาพของมันได้เป็นอย่างดี | มีการแนะนำการใช้แต้มต่อแบบโกะมิดะชิ และการคิดค้นที่สำคัญภายใต้การเกิดขึ้นของกลยุทธ์การเปิดหมากแบบใด ? | {'text': array(['ชินฟุเซะกิ'], dtype=object), 'answer_start': array([388], dtype=int32), 'answer_end': array([398], dtype=int32)} | ชินฟุเซะกิ |
zogbbpeaxudvtxblo2a6_001 | zogbbpeaxudvtxblo2a6 | ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี viii | สควอลล์ เลออนฮาร์ต (squall leonhart) ตัวละครเอกในไฟนอลแฟนตาซี viii เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว มีพื้นฐานการต่อสู้ตั้งแต่ยังเด็ก เข้าสังกัดการ์เด้นแห่งหนึ่งที่ชื่อบาลัมการ์เด้น สควอลล์ได้ผ่านการสอบขอย่างหนึ่งของการ์เด้น ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นตำแหน่งที่เรียกว่า ซี้ด(seed) โดยสควอลได้รับการสอบพร้อมกับเพื่อนๆของเขาอีก2คน คือ เซล และ เซลฟี่ และคาดว่าปริศนาที่ทำให้เกิดการเชื่อมเวลาซึ่งตัวเขาเองต้องฝันว่าตัวเองเป็นลากูน่าในภาคอดีตมีความเชื่อมโยงกันคืออาจจะเป็นพ่อลูกกัน
เซลล์ ดินช์ นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า เขาต้องการเจริญรอยตามปู่ของเขา เขาเป็นคนไม่รอบคอบ ใจร้อน ขี้โอ่ ชอบทาน hotdog แต่อย่างไรก็ตาม เขาเป็นผู้ติดตามที่ซื่อสัตย์ และอุทิศตนเพื่อสังคมอีกคนหนึ่ง
เออร์ไวน์ คินเนส บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden นอกจากนี้ในเรื่องของความเจ้าชู้เป็นเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากเท่ากับการแม่นปืน ถึงแม้เขาจะดูเป็นคนที่เจ้าสำราญ แต่จริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่เอาใจใส่ผู้อื่น
ริโนอา ฮาร์ททิลลี เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber เธอเป็นเด็กสาวผู้มีความงามและจิตวิญญาณ เป็นเด็กสาวที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา และมีความสามารถในการสัมผัสรับรู้ ถึงความรู้สึกในจิตใจผู้อื่นได้ เป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ต่อจิตใจตนเอง พูดตามที่ใจคิด เธอมีสุนัขคู่ใจชื่อ angelo ซึ่งมักจะออกมาช่วยเหลือเสมอเมื่อเธอลำบาก | สควอลล์ เลออนฮาร์ตมีลักษณะนิสัยอย่างไร | {'text': array(['เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว'], dtype=object), 'answer_start': array([67], dtype=int32), 'answer_end': array([111], dtype=int32)} | เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว |
zogbbpeaxudvtxblo2a6_002 | zogbbpeaxudvtxblo2a6 | ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี viii | สควอลล์ เลออนฮาร์ต (squall leonhart) ตัวละครเอกในไฟนอลแฟนตาซี viii เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว มีพื้นฐานการต่อสู้ตั้งแต่ยังเด็ก เข้าสังกัดการ์เด้นแห่งหนึ่งที่ชื่อบาลัมการ์เด้น สควอลล์ได้ผ่านการสอบขอย่างหนึ่งของการ์เด้น ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นตำแหน่งที่เรียกว่า ซี้ด(seed) โดยสควอลได้รับการสอบพร้อมกับเพื่อนๆของเขาอีก2คน คือ เซล และ เซลฟี่ และคาดว่าปริศนาที่ทำให้เกิดการเชื่อมเวลาซึ่งตัวเขาเองต้องฝันว่าตัวเองเป็นลากูน่าในภาคอดีตมีความเชื่อมโยงกันคืออาจจะเป็นพ่อลูกกัน
เซลล์ ดินช์ นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า เขาต้องการเจริญรอยตามปู่ของเขา เขาเป็นคนไม่รอบคอบ ใจร้อน ขี้โอ่ ชอบทาน hotdog แต่อย่างไรก็ตาม เขาเป็นผู้ติดตามที่ซื่อสัตย์ และอุทิศตนเพื่อสังคมอีกคนหนึ่ง
เออร์ไวน์ คินเนส บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden นอกจากนี้ในเรื่องของความเจ้าชู้เป็นเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากเท่ากับการแม่นปืน ถึงแม้เขาจะดูเป็นคนที่เจ้าสำราญ แต่จริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่เอาใจใส่ผู้อื่น
ริโนอา ฮาร์ททิลลี เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber เธอเป็นเด็กสาวผู้มีความงามและจิตวิญญาณ เป็นเด็กสาวที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา และมีความสามารถในการสัมผัสรับรู้ ถึงความรู้สึกในจิตใจผู้อื่นได้ เป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ต่อจิตใจตนเอง พูดตามที่ใจคิด เธอมีสุนัขคู่ใจชื่อ angelo ซึ่งมักจะออกมาช่วยเหลือเสมอเมื่อเธอลำบาก | เซลล์ ดินช์ คือใคร | {'text': array(['นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า'],
dtype=object), 'answer_start': array([505], dtype=int32), 'answer_end': array([583], dtype=int32)} | นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า |
zogbbpeaxudvtxblo2a6_003 | zogbbpeaxudvtxblo2a6 | ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี viii | สควอลล์ เลออนฮาร์ต (squall leonhart) ตัวละครเอกในไฟนอลแฟนตาซี viii เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว มีพื้นฐานการต่อสู้ตั้งแต่ยังเด็ก เข้าสังกัดการ์เด้นแห่งหนึ่งที่ชื่อบาลัมการ์เด้น สควอลล์ได้ผ่านการสอบขอย่างหนึ่งของการ์เด้น ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นตำแหน่งที่เรียกว่า ซี้ด(seed) โดยสควอลได้รับการสอบพร้อมกับเพื่อนๆของเขาอีก2คน คือ เซล และ เซลฟี่ และคาดว่าปริศนาที่ทำให้เกิดการเชื่อมเวลาซึ่งตัวเขาเองต้องฝันว่าตัวเองเป็นลากูน่าในภาคอดีตมีความเชื่อมโยงกันคืออาจจะเป็นพ่อลูกกัน
เซลล์ ดินช์ นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า เขาต้องการเจริญรอยตามปู่ของเขา เขาเป็นคนไม่รอบคอบ ใจร้อน ขี้โอ่ ชอบทาน hotdog แต่อย่างไรก็ตาม เขาเป็นผู้ติดตามที่ซื่อสัตย์ และอุทิศตนเพื่อสังคมอีกคนหนึ่ง
เออร์ไวน์ คินเนส บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden นอกจากนี้ในเรื่องของความเจ้าชู้เป็นเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากเท่ากับการแม่นปืน ถึงแม้เขาจะดูเป็นคนที่เจ้าสำราญ แต่จริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่เอาใจใส่ผู้อื่น
ริโนอา ฮาร์ททิลลี เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber เธอเป็นเด็กสาวผู้มีความงามและจิตวิญญาณ เป็นเด็กสาวที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา และมีความสามารถในการสัมผัสรับรู้ ถึงความรู้สึกในจิตใจผู้อื่นได้ เป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ต่อจิตใจตนเอง พูดตามที่ใจคิด เธอมีสุนัขคู่ใจชื่อ angelo ซึ่งมักจะออกมาช่วยเหลือเสมอเมื่อเธอลำบาก | เออร์ไวน์ คินเนสคือใคร | {'text': array(['บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden'],
dtype=object), 'answer_start': array([755], dtype=int32), 'answer_end': array([846], dtype=int32)} | บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden |
zogbbpeaxudvtxblo2a6_004 | zogbbpeaxudvtxblo2a6 | ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี viii | สควอลล์ เลออนฮาร์ต (squall leonhart) ตัวละครเอกในไฟนอลแฟนตาซี viii เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว มีพื้นฐานการต่อสู้ตั้งแต่ยังเด็ก เข้าสังกัดการ์เด้นแห่งหนึ่งที่ชื่อบาลัมการ์เด้น สควอลล์ได้ผ่านการสอบขอย่างหนึ่งของการ์เด้น ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นตำแหน่งที่เรียกว่า ซี้ด(seed) โดยสควอลได้รับการสอบพร้อมกับเพื่อนๆของเขาอีก2คน คือ เซล และ เซลฟี่ และคาดว่าปริศนาที่ทำให้เกิดการเชื่อมเวลาซึ่งตัวเขาเองต้องฝันว่าตัวเองเป็นลากูน่าในภาคอดีตมีความเชื่อมโยงกันคืออาจจะเป็นพ่อลูกกัน
เซลล์ ดินช์ นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า เขาต้องการเจริญรอยตามปู่ของเขา เขาเป็นคนไม่รอบคอบ ใจร้อน ขี้โอ่ ชอบทาน hotdog แต่อย่างไรก็ตาม เขาเป็นผู้ติดตามที่ซื่อสัตย์ และอุทิศตนเพื่อสังคมอีกคนหนึ่ง
เออร์ไวน์ คินเนส บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden นอกจากนี้ในเรื่องของความเจ้าชู้เป็นเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากเท่ากับการแม่นปืน ถึงแม้เขาจะดูเป็นคนที่เจ้าสำราญ แต่จริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่เอาใจใส่ผู้อื่น
ริโนอา ฮาร์ททิลลี เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber เธอเป็นเด็กสาวผู้มีความงามและจิตวิญญาณ เป็นเด็กสาวที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา และมีความสามารถในการสัมผัสรับรู้ ถึงความรู้สึกในจิตใจผู้อื่นได้ เป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ต่อจิตใจตนเอง พูดตามที่ใจคิด เธอมีสุนัขคู่ใจชื่อ angelo ซึ่งมักจะออกมาช่วยเหลือเสมอเมื่อเธอลำบาก | ริโนอา ฮาร์ททิลลี คือใคร | {'text': array(['เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber'],
dtype=object), 'answer_start': array([1027], dtype=int32), 'answer_end': array([1078], dtype=int32)} | เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber |
zogbbpeaxudvtxblo2a6_006 | zogbbpeaxudvtxblo2a6 | ตัวละครในไฟนอลแฟนตาซี viii | สควอลล์ เลออนฮาร์ต (squall leonhart) ตัวละครเอกในไฟนอลแฟนตาซี viii เป็นคนมีลักษณะที่เงียบขรึม และชอบอยู่คนเดียว มีพื้นฐานการต่อสู้ตั้งแต่ยังเด็ก เข้าสังกัดการ์เด้นแห่งหนึ่งที่ชื่อบาลัมการ์เด้น สควอลล์ได้ผ่านการสอบขอย่างหนึ่งของการ์เด้น ทำให้ได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นตำแหน่งที่เรียกว่า ซี้ด(seed) โดยสควอลได้รับการสอบพร้อมกับเพื่อนๆของเขาอีก2คน คือ เซล และ เซลฟี่ และคาดว่าปริศนาที่ทำให้เกิดการเชื่อมเวลาซึ่งตัวเขาเองต้องฝันว่าตัวเองเป็นลากูน่าในภาคอดีตมีความเชื่อมโยงกันคืออาจจะเป็นพ่อลูกกัน
เซลล์ ดินช์ นักเรียนทหารของ garden ผู้ที่มีความสามารถเป็นผู้เชี่ยวชาญการต่อสู้ด้วยมือเปล่า เขาต้องการเจริญรอยตามปู่ของเขา เขาเป็นคนไม่รอบคอบ ใจร้อน ขี้โอ่ ชอบทาน hotdog แต่อย่างไรก็ตาม เขาเป็นผู้ติดตามที่ซื่อสัตย์ และอุทิศตนเพื่อสังคมอีกคนหนึ่ง
เออร์ไวน์ คินเนส บุรุษผู้เชี่ยวชาญในการยิงปืน และเป็นชายหนุ่มในดวงใจของสาว ๆ เป็นคนที่แม่นปืนที่สุดใน garden นอกจากนี้ในเรื่องของความเจ้าชู้เป็นเป็นสิ่งที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักมากเท่ากับการแม่นปืน ถึงแม้เขาจะดูเป็นคนที่เจ้าสำราญ แต่จริง ๆ แล้วเขาเป็นคนที่เอาใจใส่ผู้อื่น
ริโนอา ฮาร์ททิลลี เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มต่อต้านแห่งเมือง timber เธอเป็นเด็กสาวผู้มีความงามและจิตวิญญาณ เป็นเด็กสาวที่สนุกสนาน มีชีวิตชีวา และมีความสามารถในการสัมผัสรับรู้ ถึงความรู้สึกในจิตใจผู้อื่นได้ เป็นคนเปิดเผย ซื่อสัตย์ต่อจิตใจตนเอง พูดตามที่ใจคิด เธอมีสุนัขคู่ใจชื่อ angelo ซึ่งมักจะออกมาช่วยเหลือเสมอเมื่อเธอลำบาก | สุนัขคู่ใจของริโนอา ฮาร์ททิลลีชื่อว่าอะไร | {'text': array(['angelo'], dtype=object), 'answer_start': array([1289], dtype=int32), 'answer_end': array([1295], dtype=int32)} | angelo |
zwjby823xebkan995ho3_000 | zwjby823xebkan995ho3 | ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย | "ผู้แก้ไข [วิกิพีเดีย] ส่วนใหญ่เป็นชายหนุ่มที่มีการศึกษาระดับวิทยาลัย" นับเป็นกลุ่มประชากรที่ถูกบรรยายว่าเป็น "กลุ่มเนิร์ดชายที่มีเงินพอจะซื้อแล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ราคากว่า 60,000 บาทและจ่ายค่าอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง"[4] ผลสำรวจชี้ว่าผู้แก้ไขวิกิพีเดียที่เป็นผู้หญิงมีจำนวนระหว่างร้อยละ 8.5 – 16 เท่านั้น[5][6][7] สิ่งนี้เป็นผลให้วิกิพีเดียตกเป็นเป้าวิพากษ์วิจารณ์จากนักข่าวและนักวิชาการว่ามีอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย[8][9][10] และว่ามีจำนวนบทความเกี่ยวกับผู้หญิงและบทความที่สำคัญต่อผู้หญิงน้อยกว่ารวมทั้งคุณภาพต่ำกว่า เดอะนิวยอร์กไทมส์ ชี้ว่าอัตราการเข้าร่วมของผู้หญิงในวิกิพีเดียอาจคล้ายกับ "ที่สำหรับอภิปรายทางความคิดและความเป็นผู้นำสาธารณะ" อื่น[8] ใน พ.ศ. 2552 การสำรวจโดยมูลนิธิวิกิมีเดียชี้ว่าเพียงร้อยละ 6 ของผู้แก้ไขที่ทำการแก้ไขมากกว่า 500 ครั้ง เป็นผู้หญิง โดยผู้แก้ไขเพศชายมีจำนวนการแก้ไขเฉลี่ยเป็นสองเท่า[11]
ในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษและอีกห้าภาษาอื่นที่ถูกศึกษาโดยนักวิจัย อัตราส่วนของบทความเกี่ยวกับผู้หญิงต่อบทความเกี่ยวกับผู้ชายสูงกว่าเทียบกับฐานข้อมูลอื่นอีกสามที่ อย่างไรก็ตามการวิเคราห์โดยภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์สรุปว่าวิธีที่ผู้หญิงและผู้ชายถูกเอ่ยถึงในบทความนั้นมีความลำเอียง โดยบทความเกี่ยวกับผู้หญิงมักมีการใช้คำเกี่ยวกับเพศสภาพและครอบครัวมากเกินจำเป็น นักวิจัยเชื่อว่าสิ่งนี้เป็นเครื่องหมายว่าผู้แก้ไขวิกิพีเดียคิดว่าเพศชายเป็น "เพศปกติ" (null gender)[12] อีกบทวิจารณ์เกี่ยวกับแนวทางของวิกิพีเดีย จากบทบรรณาธิการเดอะการ์เดียน พ.ศ. 2557 กล่าวว่า เป็นการยากที่วิกิพีเดียจะตัดสินว่าเรื่องไหนสำคัญ พวกเขายกตัวอย่างว่าบทความรวมรายชื่อนักแสดงหญิงในภาพยนตร์ลามกในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษถูกจัดเรียงได้ดีกว่าบทความรวมรายชื่อนักเขียนหญิง[13]
ใน พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ และ unu-merit ร่วมกันแสดงภาพรวมของแบบสำรวจโดยรวมของวิกิพีเดีย[14] เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554 บทความบน เดอะนิวยอร์กไทมส์ อ้างถึงการร่วมมือกันกับมูลนิธิวิกีมีเดียนี้ ซึ่งชี้ว่าน้อยกว่า 13% ของอาสาสมัครบนวิกิพีเดียเป็นผู้หญิง ซู การ์ดเนอร์ ผู้เป็นผู้อำนวยการบริหารแห่งมูลนิธิวิกิมีเดียในขณะนั้น กล่าวว่าการเพิ่มความหลากหลายเป็นความพยายามที่จะทำให้สารานุกรม "ดีที่สุดเท่าที่จะดีได้" บทความได้กล่าวถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจขัดขวางการแก้ไขของผู้หญิง ได้แก่ "อาณาจักรที่รักข้อเท็จจริงมากเกินไป" ร่วมกับ "กลุ่มแฮกเกอร์ที่มีความมุ่งมั่นรุนแรง" และความจำเป็นที่จะต้อง "พร้อมรับกับคนที่ยากและมีการขัดแย้งสูงหรือแม้แต่พวกเกลียดชังผู้หญิง"[8] ใน พ.ศ. 2556 ผลการสำรวจได้รับการท้าทายโดยฮิลล์และชาวโดยใช้เทคนิคการประมาณพร้อมการแก้ไขเพื่อเสนอการปรับจำนวนเพิ่มขึ้นของข้อมูลจากการสำรวจ และเพื่อแนะนำการปรับใหม่ของสถิติที่กำลังถูกสำรวจ ให้ผลเป็น 22.7% สำหรับผู้แก้ไขหญิงชาวสหรัฐ และ 16.1% โดยรวม[7]
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เดอะนิวยอร์กไทมส์ เผยแพร่ชุดความเห็นภายใต้พาดหัวข่าว "ผู้หญิงในวิกิพีเดียอยู่ที่ไหน?"[15] ซูซาน เฮร์ริง (susan herring) ศาสตราจารย์ด้านวิทยาการสารสนเทศและภาษาศาสตร์ กล่าวว่าเธอไม่รู้สึกประหลาดใจกับช่องว่างระหว่างเพศบนวิกิพีเดีย เธอกล่าวว่า ด้วยธรรมชาติของหน้าพูดคุยซึ่งเป็นที่อภิปรายเนื้อหาบทความที่มักเต็มไปด้วยข้อพิพาท ทำให้ผู้หญิงหลายคนรู้สึกว่าไม่น่าสนใจไม่ก็น่ากลัว[16] joseph m. reagle กล่าวในทำนองเดียวกันว่า "วัฒนธรรมอภิชนนิยมแฮกเกอร์ (hacker elitism)" ร่วมกับผลกระทบอันไม่สมส่วนของสมาชิก (ส่วนน้อย) ที่มีความขัดแย้งสูง ต่อบรรยากาศในชุมชน สามารถทำให้มันไม่น่าสนใจ [สำหรับผู้หญิง] เขากล่าวว่า "อุดมการณ์และวาทศิลป์ของอิสรภาะกับเสรีภาพสามารถนำไปใช้ (ก) เพื่อบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับคำพูดที่ไม่เหมาะสมหรือที่ก้าวร้าว และ (ข) เพื่อตัดสินด้วยเหตุผลว่าการมีส่วนร่วมส่วนน้อยของผู้หญิงเป็นผลมาจากความชอบส่วนบุคคลและทางเลือกเท่านั้น"[17] justine cassell กล่าวว่าแม้ผู้หญิงจะมีความรู้ไม่ต่างกับผู้ชาย และสามารถป้องกันความคิดของตนเองได้เหมือนกับผู้ชาย "สังคมอเมริกันยังถือว่าการโต้วาแย้ง แข่งขัน และ ป้องกันอย่างแข็งขันในจุดยืนของตน เป็นทีท่าของผู้ชาย และผู้หญิงที่พูดทำนองนี้อาจถูกวิจารณ์ด้านลบ"[18]
วารสาร international journal of communication ตีพิมพ์งานวิจัยโดย reagle และ lauren rhue ที่ตรวจสอบการครอบคลุม, การแสดงทางเพศสภาพ, และความยาว ของบทความนับพันเกี่ยวกับชีวประวัติบนวิกิพีเดียภาษาอังกฤษและสารานุกรมบริตานิกาออนไลน์ พวกเขาสรุปว่า โดยทั่วไปแล้ววิกิพีเดียมีบทความที่ยาวกว่าและครอบคลุมมากกว่า วิกิพีเดียมีจำนวนบทความเกี่ยวกับผู้หญิงมากกว่าเมื่อเทียบกับบริตานิกา ทว่าบทความวิกิพีเดียเกี่ยวกับผู้หญิงมีโอกาสขาดแคลนมากกว่าบทความเกี่ยวกับผู้ชายเมื่อเทียบกับบริตานิกา กล่าวคือ วิกิพีเดียเหนือกว่าบริตานิกาด้านการคลอบคลุมทางชีวประวัติ ความแตกต่างยิ่งมากขึ้นสำหรับบทความเกี่ยวกับผู้ชาย อาจเรียกได้ว่าบริตานิกามีความสมดุลมากกว่าด้านการเลือกคนที่จะไม่กล่าวถึงเมื่อเทียบกับวิกิพีเดีย แหล่งอ้างอิงทั้งสองไม่มีความแตกต่างของความยาวบทความระหว่างสองเพศ[19]
ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 มูลนิธิวิกิมีเดียเริ่มทำแบบสำรวจครึ่งปีวิกิมีเดีย ผลชี้ว่า 9% ของผู้แก้ไขวิกิพีเดียเป็นผู้หญิง และรายงานว่า "ตรงข้ามกับมุมมองของบางคน ข้อมูลของพวกเราชี้ว่าผู้แก้ไขหญิงเพียงไม่กี่คนรู้สึกว่าพวกเขาถูกคุกคาม และมีเพียงไม่กี่คนที่รู้สึกว่าวิกิพีเดียเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีรูปแบบทางเพศ (sexualized environment)"[20] อย่างไรก็ตามบทความวิจัยใน international symposium on wikis and open collaboration ของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 พบหลักฐานที่เสนอว่าวิกิพีเดียอาจมี "วัฒนธรรม" ที่อาจต่อต้านการมีส่วนร่วมของผู้หญิง"[21]
งานวิจัยที่ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2557 พบสิ่งที่เรียกว่า "ช่องว่างระหว่างทักษะอินเทอร์เน็ต" ของผู้แก้ไขวิกิพีเดีย ผู้เขียนพบว่าผู้มีส่วนร่วมในวิกิพีเดียส่วนใหญ่เป็นผู้ชายที่มีทักษะสูง และในหมู่ผู้แก้ไขทักษะต่ำไม่มีช่วงว่างระหว่างเพศ และสรุปว่า "ช่องว่างระหว่างทักษะ" เป็นตัวขยายช่องว่างระหว่างเพศในหมู่ผู้แก้ไข[22] ระหว่าง พ.ศ. 2553–2557 ร้อยละ 61 ของผู้เข้าร่วมหลักสูตรในวิทยาลัยจัดทำโดยโครงการ wiki education foundation ที่มีการแก้ไขวิกิพีเดียเป็นสวนหนึ่งของหลักสูตร พบว่าการมีส่วนร่วมของพวกเขาย้ายเนื้อหาบนวิกิพีเดียจากวัฒนธรรมประชานิยมและสะเต็มศึกษา (stem) ไปสู่สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ [23]
ใน พ.ศ. 2559 แวกเนอร์ และคณะ[24] พบความลำเอียงทางเพศผ่านภาษาที่แฝงอยู่ในครอบครัว เพศสภาพ และหัวข้อเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ที่พบได้มากกว่าในชีวประวัติเกี่ยวกับผู้หญิง และยังพบว่ามีการใช้คำเชิงบวกบ่อยกว่าในชีวิประวัติผู้ชาย และมีการใช้คำเชิงลบบ่อยกว่าในชีวประวัติผู้หญิง ผู้เขียนยังพบความแตกต่างทางโครงสร้าง โยงกับข้อมูลเมทาและไฮเปอร์ลิงก์ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางการหาข้อมูล
งานวิจัย พ.ศ. 2560 พบว่าผู้หญิงที่เข้าร่วมการทดลองโดยการแก้ไขบนเว็บไซต์คล้ายวิกิพีเดียมีแนวโน้มในการมองผู้แก้ไขคนอื่นเป็นผู้ชาย และในการมองการโต้ตอบของพวกเขาว่ามีวิจารณญาณมากกว่าหากผู้แก้ไขคนอื่นไม่ระบุเพศ งานวิจัยสรุปว่า:[25]
...การเห็นผู้แก้ไขเพศหญิบนวิกิพีเดียและการสนับสนุนในวงกว้างขึ้นของการใช้การป้อนกลับเชิงโครงสร้างอาจะเริ่มบรรเทาช่องว่างระหว่างสถานะเพศบนวิกิพีเดีย นอกจากนี้ อัตราส่วนที่สูงของผู้แก้ไขนิรนามอาจทำให้ปัญหาแย่ลง ด้วยที่ความนิรนามมักถูกมองว่าเป็นเพศชาย
งานวิจัยโดยฟอรืดและ wajcman สังเกตว่า งานวิจัยเกี่ยวกับความลำเอียงทางเพศยังคงมองไปที่ปัญหาขาดแคลนผู้หญิง ในทางตรงข้าม ข้อโต้เถียงหลักของพวกเขาระบุว่างานวิจัยโครงสร้างพื้นฐานในวิทยาศาสตร์เทคโนสตรีนิยมทำให้สามารถวิเคราห์สถานะทางเพศได้ในระดับที่สูงกว่าเดิม สิ่งนี้มองถึงสามประเด็นภายในโครงสร้างพื้นฐาน นั่นคือ นโยบายเนื้อหา กรอบการดำเนินการทางกฎหมายและทางซอร์ฟแวร์ และเสนอว่าการดำเนินการสามารถทำได้ผ่านการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการผลิตความรู้ผ่านการสนับสนุนความรู้ทางเลือก ลดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการแก้ไข และการจัดการความซับซ้อนของนโยบายวิกิพีเดีย[26] | จำนวนผู้หญิงที่แก้ไขข้อมูลบนวิกิพีเดียคิดเป็นร้อยละเท่าไหร่? | {'text': array(['8.5 – 16'], dtype=object), 'answer_start': array([284], dtype=int32), 'answer_end': array([292], dtype=int32)} | 8.5 – 16 |
zwjby823xebkan995ho3_001 | zwjby823xebkan995ho3 | ความลำเอียงทางเพศบนวิกิพีเดีย | "ผู้แก้ไข [วิกิพีเดีย] ส่วนใหญ่เป็นชายหนุ่มที่มีการศึกษาระดับวิทยาลัย" นับเป็นกลุ่มประชากรที่ถูกบรรยายว่าเป็น "กลุ่มเนิร์ดชายที่มีเงินพอจะซื้อแล็ปท็อปคอมพิวเตอร์ราคากว่า 60,000 บาทและจ่ายค่าอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง"[4] ผลสำรวจชี้ว่าผู้แก้ไขวิกิพีเดียที่เป็นผู้หญิงมีจำนวนระหว่างร้อยละ 8.5 – 16 เท่านั้น[5][6][7] สิ่งนี้เป็นผลให้วิกิพีเดียตกเป็นเป้าวิพากษ์วิจารณ์จากนักข่าวและนักวิชาการว่ามีอาสาสมัครส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย[8][9][10] และว่ามีจำนวนบทความเกี่ยวกับผู้หญิงและบทความที่สำคัญต่อผู้หญิงน้อยกว่ารวมทั้งคุณภาพต่ำกว่า เดอะนิวยอร์กไทมส์ ชี้ว่าอัตราการเข้าร่วมของผู้หญิงในวิกิพีเดียอาจคล้ายกับ "ที่สำหรับอภิปรายทางความคิดและความเป็นผู้นำสาธารณะ" อื่น[8] ใน พ.ศ. 2552 การสำรวจโดยมูลนิธิวิกิมีเดียชี้ว่าเพียงร้อยละ 6 ของผู้แก้ไขที่ทำการแก้ไขมากกว่า 500 ครั้ง เป็นผู้หญิง โดยผู้แก้ไขเพศชายมีจำนวนการแก้ไขเฉลี่ยเป็นสองเท่า[11]
ในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษและอีกห้าภาษาอื่นที่ถูกศึกษาโดยนักวิจัย อัตราส่วนของบทความเกี่ยวกับผู้หญิงต่อบทความเกี่ยวกับผู้ชายสูงกว่าเทียบกับฐานข้อมูลอื่นอีกสามที่ อย่างไรก็ตามการวิเคราห์โดยภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์สรุปว่าวิธีที่ผู้หญิงและผู้ชายถูกเอ่ยถึงในบทความนั้นมีความลำเอียง โดยบทความเกี่ยวกับผู้หญิงมักมีการใช้คำเกี่ยวกับเพศสภาพและครอบครัวมากเกินจำเป็น นักวิจัยเชื่อว่าสิ่งนี้เป็นเครื่องหมายว่าผู้แก้ไขวิกิพีเดียคิดว่าเพศชายเป็น "เพศปกติ" (null gender)[12] อีกบทวิจารณ์เกี่ยวกับแนวทางของวิกิพีเดีย จากบทบรรณาธิการเดอะการ์เดียน พ.ศ. 2557 กล่าวว่า เป็นการยากที่วิกิพีเดียจะตัดสินว่าเรื่องไหนสำคัญ พวกเขายกตัวอย่างว่าบทความรวมรายชื่อนักแสดงหญิงในภาพยนตร์ลามกในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษถูกจัดเรียงได้ดีกว่าบทความรวมรายชื่อนักเขียนหญิง[13]
ใน พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ และ unu-merit ร่วมกันแสดงภาพรวมของแบบสำรวจโดยรวมของวิกิพีเดีย[14] เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554 บทความบน เดอะนิวยอร์กไทมส์ อ้างถึงการร่วมมือกันกับมูลนิธิวิกีมีเดียนี้ ซึ่งชี้ว่าน้อยกว่า 13% ของอาสาสมัครบนวิกิพีเดียเป็นผู้หญิง ซู การ์ดเนอร์ ผู้เป็นผู้อำนวยการบริหารแห่งมูลนิธิวิกิมีเดียในขณะนั้น กล่าวว่าการเพิ่มความหลากหลายเป็นความพยายามที่จะทำให้สารานุกรม "ดีที่สุดเท่าที่จะดีได้" บทความได้กล่าวถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่อาจขัดขวางการแก้ไขของผู้หญิง ได้แก่ "อาณาจักรที่รักข้อเท็จจริงมากเกินไป" ร่วมกับ "กลุ่มแฮกเกอร์ที่มีความมุ่งมั่นรุนแรง" และความจำเป็นที่จะต้อง "พร้อมรับกับคนที่ยากและมีการขัดแย้งสูงหรือแม้แต่พวกเกลียดชังผู้หญิง"[8] ใน พ.ศ. 2556 ผลการสำรวจได้รับการท้าทายโดยฮิลล์และชาวโดยใช้เทคนิคการประมาณพร้อมการแก้ไขเพื่อเสนอการปรับจำนวนเพิ่มขึ้นของข้อมูลจากการสำรวจ และเพื่อแนะนำการปรับใหม่ของสถิติที่กำลังถูกสำรวจ ให้ผลเป็น 22.7% สำหรับผู้แก้ไขหญิงชาวสหรัฐ และ 16.1% โดยรวม[7]
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เดอะนิวยอร์กไทมส์ เผยแพร่ชุดความเห็นภายใต้พาดหัวข่าว "ผู้หญิงในวิกิพีเดียอยู่ที่ไหน?"[15] ซูซาน เฮร์ริง (susan herring) ศาสตราจารย์ด้านวิทยาการสารสนเทศและภาษาศาสตร์ กล่าวว่าเธอไม่รู้สึกประหลาดใจกับช่องว่างระหว่างเพศบนวิกิพีเดีย เธอกล่าวว่า ด้วยธรรมชาติของหน้าพูดคุยซึ่งเป็นที่อภิปรายเนื้อหาบทความที่มักเต็มไปด้วยข้อพิพาท ทำให้ผู้หญิงหลายคนรู้สึกว่าไม่น่าสนใจไม่ก็น่ากลัว[16] joseph m. reagle กล่าวในทำนองเดียวกันว่า "วัฒนธรรมอภิชนนิยมแฮกเกอร์ (hacker elitism)" ร่วมกับผลกระทบอันไม่สมส่วนของสมาชิก (ส่วนน้อย) ที่มีความขัดแย้งสูง ต่อบรรยากาศในชุมชน สามารถทำให้มันไม่น่าสนใจ [สำหรับผู้หญิง] เขากล่าวว่า "อุดมการณ์และวาทศิลป์ของอิสรภาะกับเสรีภาพสามารถนำไปใช้ (ก) เพื่อบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับคำพูดที่ไม่เหมาะสมหรือที่ก้าวร้าว และ (ข) เพื่อตัดสินด้วยเหตุผลว่าการมีส่วนร่วมส่วนน้อยของผู้หญิงเป็นผลมาจากความชอบส่วนบุคคลและทางเลือกเท่านั้น"[17] justine cassell กล่าวว่าแม้ผู้หญิงจะมีความรู้ไม่ต่างกับผู้ชาย และสามารถป้องกันความคิดของตนเองได้เหมือนกับผู้ชาย "สังคมอเมริกันยังถือว่าการโต้วาแย้ง แข่งขัน และ ป้องกันอย่างแข็งขันในจุดยืนของตน เป็นทีท่าของผู้ชาย และผู้หญิงที่พูดทำนองนี้อาจถูกวิจารณ์ด้านลบ"[18]
วารสาร international journal of communication ตีพิมพ์งานวิจัยโดย reagle และ lauren rhue ที่ตรวจสอบการครอบคลุม, การแสดงทางเพศสภาพ, และความยาว ของบทความนับพันเกี่ยวกับชีวประวัติบนวิกิพีเดียภาษาอังกฤษและสารานุกรมบริตานิกาออนไลน์ พวกเขาสรุปว่า โดยทั่วไปแล้ววิกิพีเดียมีบทความที่ยาวกว่าและครอบคลุมมากกว่า วิกิพีเดียมีจำนวนบทความเกี่ยวกับผู้หญิงมากกว่าเมื่อเทียบกับบริตานิกา ทว่าบทความวิกิพีเดียเกี่ยวกับผู้หญิงมีโอกาสขาดแคลนมากกว่าบทความเกี่ยวกับผู้ชายเมื่อเทียบกับบริตานิกา กล่าวคือ วิกิพีเดียเหนือกว่าบริตานิกาด้านการคลอบคลุมทางชีวประวัติ ความแตกต่างยิ่งมากขึ้นสำหรับบทความเกี่ยวกับผู้ชาย อาจเรียกได้ว่าบริตานิกามีความสมดุลมากกว่าด้านการเลือกคนที่จะไม่กล่าวถึงเมื่อเทียบกับวิกิพีเดีย แหล่งอ้างอิงทั้งสองไม่มีความแตกต่างของความยาวบทความระหว่างสองเพศ[19]
ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 มูลนิธิวิกิมีเดียเริ่มทำแบบสำรวจครึ่งปีวิกิมีเดีย ผลชี้ว่า 9% ของผู้แก้ไขวิกิพีเดียเป็นผู้หญิง และรายงานว่า "ตรงข้ามกับมุมมองของบางคน ข้อมูลของพวกเราชี้ว่าผู้แก้ไขหญิงเพียงไม่กี่คนรู้สึกว่าพวกเขาถูกคุกคาม และมีเพียงไม่กี่คนที่รู้สึกว่าวิกิพีเดียเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีรูปแบบทางเพศ (sexualized environment)"[20] อย่างไรก็ตามบทความวิจัยใน international symposium on wikis and open collaboration ของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 พบหลักฐานที่เสนอว่าวิกิพีเดียอาจมี "วัฒนธรรม" ที่อาจต่อต้านการมีส่วนร่วมของผู้หญิง"[21]
งานวิจัยที่ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2557 พบสิ่งที่เรียกว่า "ช่องว่างระหว่างทักษะอินเทอร์เน็ต" ของผู้แก้ไขวิกิพีเดีย ผู้เขียนพบว่าผู้มีส่วนร่วมในวิกิพีเดียส่วนใหญ่เป็นผู้ชายที่มีทักษะสูง และในหมู่ผู้แก้ไขทักษะต่ำไม่มีช่วงว่างระหว่างเพศ และสรุปว่า "ช่องว่างระหว่างทักษะ" เป็นตัวขยายช่องว่างระหว่างเพศในหมู่ผู้แก้ไข[22] ระหว่าง พ.ศ. 2553–2557 ร้อยละ 61 ของผู้เข้าร่วมหลักสูตรในวิทยาลัยจัดทำโดยโครงการ wiki education foundation ที่มีการแก้ไขวิกิพีเดียเป็นสวนหนึ่งของหลักสูตร พบว่าการมีส่วนร่วมของพวกเขาย้ายเนื้อหาบนวิกิพีเดียจากวัฒนธรรมประชานิยมและสะเต็มศึกษา (stem) ไปสู่สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ [23]
ใน พ.ศ. 2559 แวกเนอร์ และคณะ[24] พบความลำเอียงทางเพศผ่านภาษาที่แฝงอยู่ในครอบครัว เพศสภาพ และหัวข้อเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ที่พบได้มากกว่าในชีวประวัติเกี่ยวกับผู้หญิง และยังพบว่ามีการใช้คำเชิงบวกบ่อยกว่าในชีวิประวัติผู้ชาย และมีการใช้คำเชิงลบบ่อยกว่าในชีวประวัติผู้หญิง ผู้เขียนยังพบความแตกต่างทางโครงสร้าง โยงกับข้อมูลเมทาและไฮเปอร์ลิงก์ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกิจกรรมทางการหาข้อมูล
งานวิจัย พ.ศ. 2560 พบว่าผู้หญิงที่เข้าร่วมการทดลองโดยการแก้ไขบนเว็บไซต์คล้ายวิกิพีเดียมีแนวโน้มในการมองผู้แก้ไขคนอื่นเป็นผู้ชาย และในการมองการโต้ตอบของพวกเขาว่ามีวิจารณญาณมากกว่าหากผู้แก้ไขคนอื่นไม่ระบุเพศ งานวิจัยสรุปว่า:[25]
...การเห็นผู้แก้ไขเพศหญิบนวิกิพีเดียและการสนับสนุนในวงกว้างขึ้นของการใช้การป้อนกลับเชิงโครงสร้างอาจะเริ่มบรรเทาช่องว่างระหว่างสถานะเพศบนวิกิพีเดีย นอกจากนี้ อัตราส่วนที่สูงของผู้แก้ไขนิรนามอาจทำให้ปัญหาแย่ลง ด้วยที่ความนิรนามมักถูกมองว่าเป็นเพศชาย
งานวิจัยโดยฟอรืดและ wajcman สังเกตว่า งานวิจัยเกี่ยวกับความลำเอียงทางเพศยังคงมองไปที่ปัญหาขาดแคลนผู้หญิง ในทางตรงข้าม ข้อโต้เถียงหลักของพวกเขาระบุว่างานวิจัยโครงสร้างพื้นฐานในวิทยาศาสตร์เทคโนสตรีนิยมทำให้สามารถวิเคราห์สถานะทางเพศได้ในระดับที่สูงกว่าเดิม สิ่งนี้มองถึงสามประเด็นภายในโครงสร้างพื้นฐาน นั่นคือ นโยบายเนื้อหา กรอบการดำเนินการทางกฎหมายและทางซอร์ฟแวร์ และเสนอว่าการดำเนินการสามารถทำได้ผ่านการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการผลิตความรู้ผ่านการสนับสนุนความรู้ทางเลือก ลดอุปสรรคทางเทคนิคต่อการแก้ไข และการจัดการความซับซ้อนของนโยบายวิกิพีเดีย[26] | จำนวนผู้หญิงสหรัฐที่แก้ไขข้อมูลบนวิกิพีเดียคิดเป็นร้อยละเท่าไหร่? | {'text': array(['22.7%'], dtype=object), 'answer_start': array([2416], dtype=int32), 'answer_end': array([2421], dtype=int32)} | 22.7% |
zx9q54mmafpods5j6eqr_000 | zx9q54mmafpods5j6eqr | ปลาตะกาก | ปลาตะกาก เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cosmochilus harmandi อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุล cyclocheilichthys หรือ ปลาตะโกก คือ ลำตัวเพรียวยาว มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากมีติ่งเนื้อเล็ก ๆ เป็นชายครุยรอบ ๆ ครีบหลังยกสูงมาก โดยจะสูงมากกว่าปลาตะโกก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดใหญ่สีเงิน ว่ายน้ำได้รวดเร็ว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 10 กิโลกรัม กินอาหารได้แก่ แมลง, พืชน้ำ และสัตว์หน้าดิน เช่น หอย เป็นอาหาร
เป็นปลาที่พบได้ตามแม่น้ำขนาดใหญ่ในภาคกลางและภาคอีสาน เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล เป็นต้น
เป็นปลาเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของภาคอีสาน นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดหรือทำปลาร้า จัดเป็นปลาที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง แต่ต่ำกว่าปลาตะโกก (c. enoplus) เพราะเนื้อแข็งกว่า
พบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นบางครั้ง ถูกเรียกในตลาดปลาสวยงามว่า "กระมังครีบสูง "
และมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปากบาน" หรือ "โจกเขียว" | ปลาตะกากมีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่าอย่างไร | {'text': array(['ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cosmochilus harmandi'], dtype=object), 'answer_start': array([34], dtype=int32), 'answer_end': array([73], dtype=int32)} | ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cosmochilus harmandi |
zx9q54mmafpods5j6eqr_001 | zx9q54mmafpods5j6eqr | ปลาตะกาก | ปลาตะกาก เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cosmochilus harmandi อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุล cyclocheilichthys หรือ ปลาตะโกก คือ ลำตัวเพรียวยาว มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากมีติ่งเนื้อเล็ก ๆ เป็นชายครุยรอบ ๆ ครีบหลังยกสูงมาก โดยจะสูงมากกว่าปลาตะโกก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดใหญ่สีเงิน ว่ายน้ำได้รวดเร็ว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 10 กิโลกรัม กินอาหารได้แก่ แมลง, พืชน้ำ และสัตว์หน้าดิน เช่น หอย เป็นอาหาร
เป็นปลาที่พบได้ตามแม่น้ำขนาดใหญ่ในภาคกลางและภาคอีสาน เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล เป็นต้น
เป็นปลาเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของภาคอีสาน นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดหรือทำปลาร้า จัดเป็นปลาที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง แต่ต่ำกว่าปลาตะโกก (c. enoplus) เพราะเนื้อแข็งกว่า
พบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นบางครั้ง ถูกเรียกในตลาดปลาสวยงามว่า "กระมังครีบสูง "
และมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปากบาน" หรือ "โจกเขียว" | ปลาตะกากถือว่าเป็นปลาน้ำจืดที่จัดอยู่ในวงศ์ใด | {'text': array(['วงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae)'], dtype=object), 'answer_start': array([80], dtype=int32), 'answer_end': array([107], dtype=int32)} | วงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) |
zx9q54mmafpods5j6eqr_004 | zx9q54mmafpods5j6eqr | ปลาตะกาก | ปลาตะกาก เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า cosmochilus harmandi อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุล cyclocheilichthys หรือ ปลาตะโกก คือ ลำตัวเพรียวยาว มีหนวด 2 คู่ ที่ริมฝีปากมีติ่งเนื้อเล็ก ๆ เป็นชายครุยรอบ ๆ ครีบหลังยกสูงมาก โดยจะสูงมากกว่าปลาตะโกก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดใหญ่สีเงิน ว่ายน้ำได้รวดเร็ว ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 60 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร หนักได้ถึง 10 กิโลกรัม กินอาหารได้แก่ แมลง, พืชน้ำ และสัตว์หน้าดิน เช่น หอย เป็นอาหาร
เป็นปลาที่พบได้ตามแม่น้ำขนาดใหญ่ในภาคกลางและภาคอีสาน เช่น แม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล เป็นต้น
เป็นปลาเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของภาคอีสาน นิยมบริโภคด้วยการปรุงสดหรือทำปลาร้า จัดเป็นปลาที่มีราคาสูงชนิดหนึ่ง แต่ต่ำกว่าปลาตะโกก (c. enoplus) เพราะเนื้อแข็งกว่า
พบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามเป็นบางครั้ง ถูกเรียกในตลาดปลาสวยงามว่า "กระมังครีบสูง "
และมีชื่อเรียกในภาษาอีสานว่า "ปากบาน" หรือ "โจกเขียว" | ปลาตะกากมักพบเลี้ยงเป็นปลาสวยงามมีชื่อในวงการว่าอะไร | {'text': array(['กระมังครีบสูง'], dtype=object), 'answer_start': array([796], dtype=int32), 'answer_end': array([809], dtype=int32)} | กระมังครีบสูง |