diff --git "a/combined_text_chunks.txt" "b/combined_text_chunks.txt" new file mode 100644--- /dev/null +++ "b/combined_text_chunks.txt" @@ -0,0 +1,5007 @@ + +Chunk 1: +มาตรฐานสินค้าเกษตร +มกษ. 4004-2560 +THAI AGRICULTURAL STANDARD +TAS 4004-2017 +ข้าวไทย +THAI RICE +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ +กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ +ICS 67.060 + + +ISBN 978-974-403-674-2 + + + + +มาตรฐานสินค้าเกษตร +มกษ. 4004-2560 +THAI AGRICULTURAL STANDARD +TAS 4004-2017 +ข้าวไทย +THAI RICE +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ +กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ +50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 +โทรศัพท์ 0 2561 2277 โทรสาร 0 2561 3357 +www.acfs.go.th +ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 134 ตอนพิเศษ 221 ง +วันที่ 8 กันยายน พุทธศักราช 2560 + + + + + +(2) +คณะกรรมการวิชาการพิจารณามาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้องกับสินค้าข้าว +1. อธิบดีกรมการข้าว หรือผู้ที่อธิบดีมอบหมาย +ประธานกรรมการ +นายอลงกรณ์ กรณ์ทอง รองอธิบดีกรมการข้าว +นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล รองอธิบดีกรมการข้าว + +2. ผู้แทนกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ +ผู้อ านวยการกองมาตรฐานสินค้าน าเข้าส่งออก +นายเอกรินทร์ อินกองงาม +กรรมการ +3. ผู้แทนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ +นางสาวพัชรี พยัควงษ์ +นางสาวจันทร ควรสมบูรณ์ +กรรมการ +4. ผู้แทนกรมส่งเสริมการเกษตร +นายส าราญ สาราบรรณ์ +นายวิเศษศักดิ์ ศรีสุริยะธาดา +นายวิโรจน์ จันทร์ขาว +กรรมการ +5. ผู้แทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ +นางสาวปรานอม จันทร์ใหม่ +นางเนาวรัตน์ เอื้ออารักษ์พงศ์ +กรรมการ +6. ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข +นางมาลี จิรวงศ์ศรี +นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ +กรรมการ +7. ผู้แทนกองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าวและผลิตภัณฑ์ กรมการข้าว +นายประสงค์ ทองพันธ์ +กรรมการ +8. ผู้แทนสภาเกษตรกรแห่งชาติ +นางลัดดาวัลย์ กรรณนุช +กรรมการ +9. ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย +นายวิชัย อัศรัสกร +กรรมการ +10. +ผู้แทนสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย +นายวิชัย ศรีประเสริฐ +นางมยุรา มานะธัญญา +กรรมการ +11. +ผู้แทนสมาคมโรงสีข้าวไทย +นายมานัส กิจประเสริฐ + +กรรมการ + + +(3) +12. +ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิเคราะห์และตรวจสอบคุณภาพข้าว +นางสาวกัญญา เชื้อพันธุ์ +กรรมการ +13. +ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวบรรจุถุง +นายวิชัย ศรีนวกุล +กรรมการ +14. +ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการผลิตข้าวเปลือก +นายสามารถ อัดทอง +กรรมกา�� +15. +ผู้แทนส านักก าหนดมาตรฐาน +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ +นางสาวณมาพร อัตถวิโรจน์ +นางสาวมนทิชา สรรพอาสา +นางสาววิรัชนี โลหะชุมพล + +กรรมการและเลขานุการ + + + + + +(4) +ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ประกาศมาตรฐานสินค้าเกษตร ที่ มกษ. 4004-2555 เรื่อง ข้าว +เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2555 เพื่อเป็นการปรับปรุงให้มาตรฐานมีเนื้อหาสอดคล้องกับสถานการณ์การผลิต +และการค้าที่เปลี่ยนแปลงไป คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตร จึงเห็นสมควรให้ปรับปรุงแก้ไข +มาตรฐานฉบับเดิม เพื่อให้ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยเป็นที่ยอมรับมากขึ้น ทั้งภายในประเทศและ +ต่างประเทศในด้านคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร +มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ก าหนดขึ้นโดยใช้เอกสารต่อไปนี้เป็นแนวทาง +กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าวหอมไทย พ.ศ. 2559. +กระทรวงพาณิชย์. 2559. ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ. 2559. +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2546. ข้าวหอมมะลิไทย. มกษ. 4000-2546. +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2551. ข้าวหอมไทย. มกษ. 4001-2551. +ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2555. ข + +Chunk 2: +้าว. มกษ. 4004-2555. +International Organization for Standardization. 2009. Cereals and cereal product-Sampling, Section +5.2 Sampling of bulk products and Section 5.3 Sampling of milled and other products in packed +units. ISO 24333:2009. +Joint FAO/WHO Food Standards Programme. 1995. Rice. CODEX STAN 198-1995. + + + +มกษ. 4004-2560 + +มาตรฐานสินค้าเกษตร +ข้าวไทย +1. +ขอบข่าย +1.1 +มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ใช้กับข้าวไทย ซึ่งได้มาจากพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Oryza sativa L. +วงศ์ Gramineae หรือ Poaceae พันธุ์ที่ผลิตเป็นการค้า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์หรือ +หน่วยงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศรับรองพันธุ์ และเป็น +ข้าวที่ผลิตในประเทศไทยส าหรับการบริโภค มาตรฐานนี้รวมข้าวเจ้าและข้าวเหนียวที่อยู่ใน +รูปของข้าวเปลือก ข้าวกล้อง และข้าวขาวที่บรรจุหีบห่อ ยกเว้นข้าวเปลือกอาจไม่บรรจุหีบห่อก็ได้ +1.2 +มาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ไม่ครอบคลุมสินค้า ดังต่อไปนี้ +ก) ข้าวหอมมะลิไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4000 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง +ข้าวหอมมะลิไทย +ข) ข้าวหอมไทย ที่ได้ก าหนดเป็นมาตรฐานไว้ตาม มกษ. 4001 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง +ข้าวหอมไทย +ค) ข้าวที่เติมสารอาหาร เช่น วิตามิน เกลือแร่ +ง) ข้าวนึ่ง (parboiled rice) +จ) ข้าวสีต่างๆ (colour rice) +2. +นิยาม +ความหมายของค าที่ใช้ในมาตรฐานสินค้าเกษตรนี้ มีดังต่อไปนี้ +2.1 +ข้าวเจ้า (non glutinous rice or non waxy rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวขาว +มีลักษณะใส อาจมีหรือไม่มีจุดขุ่นขาวของท้องไข่ปรากฏอยู่ +2.2 +ข้าวเหนียว (glutinous rice) หมายถึง ข้าวซึ่งเป็นพันธุ์ที่เมล็ดข้าวเหนียวขาวมีลักษณะขุ่นขาว +ทั้งเมล็ด เมื่อนึ่งสุกเมล็ดจะเหนียวและจับติดกัน +2.3 +ข้าวเปลือก (paddy or rough rice or unhusked rice) หมายถึง ข้าวที่ยังไม่ผ่านการกะเทาะเอา +เปลือกออก +2.4 +ข้าวเปลือกสด (wet paddy or wet unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวและนวดทันที +โดยไม่ผ่านกระบวนการลดความชื้น + + + +2 +มกษ. 4004-2560 +2.5 +ข้าวเปลือกแห้ง (dry paddy or dry unhusked rice) หมายถึง ข้าวเปลือกที่ผ่านกระบวนการ +ลดความชื้นจนมีความชื้นไม่เกิน 15% +2.6 +ข้าวกล้อง (husked rice or brown rice or cargo rice or loonzain rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่าน +การกะเทาะเอาเปลือกออกเท่านั้น +2.7 +ข้าวขาว (white rice or milled rice or polished rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเจ้า +ไปขัดเอาร าออกแล้ว +2.8 +ข้าวเหนียวขาว (white glutinous rice) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการน าข้าวกล้องเหนียวไปขัดเอา +ร าออกแล้ว +2.9 +ข้าวนึ่ง (parboiled rice) หมายถึง ข้าวที่ผ่านกระบวนการท าข้าวนึ่งและขัดเอาร าออกแล้ว +2.10 +ส่วนของเมล็ดข้าว (parts of rice kernels) หมายถึง ส่วนของข้าวเต็มเมล็ดแต่ละส่วนที่แบ่งตาม +ความยาวของเมล็ดออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กัน +2.11 +ข้าวเต็มเมล็ด (whole kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่อยู่ในสภาพเต็มเมล็ดไม่มีส่วนใดหัก และให้ +รวมถึงเมล็ดข้าวที่มีความยาวตั้งแต่ 9 ส่วนขึ้นไป +2.12 +ต้นข้าว1/ (head rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวมากกว่าข้าวหักแต่ไม่ถึงความยาวของ +ข้าวเต็มเมล็ด และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ตั้งแต่ 80% ของเมล็ด +2.13 +ข้าวหัก (brokens or broken rice) หมายถึง เมล็ดข้าวหักที่มีความยาวตั้งแต่ 2.5 ส่วนขึ้นไป +แต่ไม่ถึงความยาวของต้นข้าว และให้รวมถึงเมล็ดข้าวแตกเป็นซีกที่มีเนื้อที่เหลืออยู่ + +Chunk 3: +ไม่ถึง 80% +ของเมล็ด +2.14 +ข้าวเมล็ดสี (colour kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีอื่น เช่น สีแดง สีน้ าตาล สีม่วง +สีม่วงด า หุ้มอยู่ทั้งเมล็ด หรือติดอยู่เป���นบางส่วนของเมล็ดที่อาจมีปนได้ +2.15 +ข้าวเมล็ดท้องไข่ (chalky kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวเจ้าที่เป็นสีขาวขุ่นคล้ายชอล์ก และมีเนื้อที่ +ตั้งแต่ 50% ขึ้นไปของเนื้อที่เมล็ดข้าว +2.16 +ข้าวเมล็ดลีบ (undeveloped kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ไม่เจริญเติบโตตามปกติที่ควรเป็น +มีลักษณะแฟบแบน +2.17 +ข้าวเมล็ดเสีย (damaged kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่เสียอย่างเห็นได้ชัดแจ้งด้วยตาเปล่า +ซึ่งเกิดจากความชื้น ความร้อน เชื้อรา แมลง หรืออื่นๆ +2.18 +ข้าวเมล็ดเหลือง (yellow kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีบางส่วนหรือทั้งเมล็ดกลายเป็นสีเหลือง +อย่างชัดแจ้ง รวมทั้งข้าวนึ่งที่มีสีเหลืองเข้มบางส่วนหรือทั้งเมล็ดอย่างชัดแจ้ง + + +1/ ต้นข้าวหรือที่เรียกว่าข้าวต้นก็ได้ + + +3 +มกษ. 4004-2560 +2.19 +ข้าวเมล็ดอ่อน (immature kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีสีเขียวอ่อนได้จากข้าวเปลือกที่ยัง +ไม่สุกแก่ +2.20 +วัตถุอื่น (foreign matter) หมายถึง สิ่งอื่นๆ ที่มิใช่ข้าว รวมทั้งแกลบและร าที่หลุดจากเมล็ดข้าว +2.21 +แอมิโลส (amylose) หมายถึง แป้งชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในเมล็ดข้าว ซึ่งมีผลท าให้เมื่อหุงเป็นข้าวสวย +จะมีความอ่อนนุ่มหรือกระด้าง แตกต่างกันไปตามปริมาณแอมิโลส ทั้งนี้ปริมาณแอมิโลส +ที่สูงขึ้นจะท าให้ข้าวมีความกระด้างมากขึ้น +2.22 +ค่าการสลายเมล็ดในด่าง (alkali spreading value) หมายถึง อัตราการสลายของแป้งในเมล็ดข้าว +เมื่อแช่ข้าวที่ขัดสีเยื่อหุ้มเมล็ดออกแล้ว ในสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 1.7% +นาน 23 h ที่อุณหภูมิ 30C +3. +การแบ่งประเภทและกลุ่ม +3.1 +ข้าวไทยแบ่งตามระดับการแปรสภาพข้าวเป็น 3 ประเภท ดังนี้ +ก) ข้าวเปลือก +ข) ข้าวกล้อง +ค) ข้าวขาวและข้าวเหนียวขาว +3.2 +ข้าวไทยแบ่งตามปริมาณแอมิโลสเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ +ก) กลุ่มข้าวเจ้านุ่ม แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ า (ตั้งแต่ 13.0% ถึง 20.0% โดยน้ าหนัก +ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) และข้าวมีค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 +เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดจะอ่อนนุ่ม ค่อนข้างเหนียว +ข) กลุ่มข้าวเจ้าร่วน แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสปานกลาง (มากกว่า 20.0% ถึง 25.0% +โดยน้ าหนัก ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าว จะร่วน +ค่อนข้างนุ่ม +ค) กล���่มข้าวเจ้าแข็ง แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสสูง (มากกว่า 25.0% ขึ้นไปโดยน้ าหนัก +ที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก) เมื่อหุงสุกเป็นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าวร่วนและแข็ง +ง) กลุ่มข้าวเหนียว แป้งของข้าวเหนียวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ ามากหรือไม่มีเลย ข้าวมี +ค่าการสลายเมล็ดในด่างระดับ 6 ถึงระดับ 7 เมื่อนึ่งสุกเมล็ดข้าวจะเหนียวและจับติดกัน +ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทยที่จัดอยู่ในแต่ละกลุ่มข้างต้น มีรายละเอียด +ตามภาคผนวก ก + + + + + +4 +มกษ. 4004-2560 +4. +คุณภาพ +4.1 +ข้อก าหนดทั่วไป +ข้าวไทย ทั้งข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาว ต้องมีคุณภาพทั่วไป ดังต่อไปนี้ +ก) มีความปลอดภัยและคุณภาพเหมาะสมต่อการบริโภค (อย่างน้อยตามข้อ 7 ข้อ 8 และข้อ 9) +ข) เมล็ดข้าวมีลักษณะปรากฏสม่ าเสมอ เป็นไปตามชั้นคุณภาพตามข้อ 4.3 +ค) ไม่มีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นเหม็นเปรี้ยว +4.2 +ข้อก าหนดเฉพาะ +4.2.1 +ข้าวเปลือกของข้าวไทย + + +Chunk 4: + +ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ +ก) มีความชื้นไม่เกิน 15% กรณีข้าวเปลือกที่จะน าไปเก็บรักษาจะต้องมีความชื้นไม่เกิน 14% +การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 +ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกสดของข้าวไทยตามปริมาณความชื้นสามารถท าได้ใน +ระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์ความชื้นที่ก าหนด 15% ขึ้นกับข้อตกลงระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย +ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย ตามปริมาณความชื้นของ +ข้าวเปลือกสดของข้าวไทยนั้น +ข) กรณีข้าวเปลือกแห้ง ให้มีคุณภาพการขัดสีได้ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าวของข้าวขาวตั้งแต่ 34% +ขึ้นไป โดยน้ าหนัก +ในทางปฏิบัติ การซื้อขายข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยตามคุณภาพการขัดสีสามารถท าได้ +ในระดับที่ต่ ากว่าหรือสูงกว่าเกณฑ์คุณภาพการขัดสีที่ก าหนด 34% โดยน้ าหนัก ขึ้นกับข้อตกลง +ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ที่มีการค านวณการตัดราคา หรือตัดน้ าหนัก หรือเพิ่มราคาซื้อขาย +ตามคุณภาพการขัดสีของข้าวเปลือกแห้งของข้าวไทยนั้น +ค) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสด ไม่เกินตามที่ระบุในตารางที่ 1 +ง) มีข้าวและวัตถุอื่นที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกแห้ง ไม่��กินตามที่ระบุในตารางที่ 2 และตารางที่ 3 + + + + + + + +5 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ 1 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกสดของข้าวไทย +(ข้อ 4.2.1 ค)) +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวเมล็ดสี* +<1.0 +ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** +<2.0 +ข้าวเมล็ดอ่อน** +<6.0 + +หมายเหตุ +การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 + +* ทดสอบจากข้าวกล้อง + +** ทดสอบจากข้าวเปลือกและ/หรือข้าวกล้อง + +ตารางที่ 2 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเจ้าแห้งของข้าวไทย +(ข้อ 4.2.1 ง)) +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวเมล็ดสี* +<1.0 +ข้าวเมล็ดเหลือง*** +<1.0 +ข้าวเมล็ดเสีย*** +<1.0 +ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** +<2.0 +ข้าวเมล็ดอ่อน** +<6.0 +ข้าวเมล็ดท้องไข่***** +<7.0 +ข้าวเหนียว**** +<2.0 + +หมายเหตุ +การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 + +*ทดสอบจากข้าวกล้อง + +** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง + +***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว + +*****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว + +******ทดสอบจากข้าวขาว + + + + + + + + + + +6 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ 3 ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวเปลือกเหนียวแห้งของข้าวไทย +(ข้อ 4.2.1 ง)) +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +เกณฑ์การยอมรับ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวเมล็ดสี* +<1.0 +ข้าวเมล็ดเหลือง*** +<1.0 +ข้าวเมล็ดเสีย*** +<1.0 +ข้าวเมล็ดลีบรวมวัตถุอื่น** +<2.0 +ข้าวเมล็ดอ่อน** +<6.0 +ข้าวเจ้า**** +<5.0 + +หมายเหตุ +การทดสอบให้เป็นไปตามวิธีวิเคราะห์ข้อ 10.2 + +*ทดสอบจากข้าวกล้อง + +** ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง + +***ทดสอบจากข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว + +*****ทดสอบจากข้าวเปลือก และ/หรือข้าวกล้อง และ/หรือข้าวขาว +4.2.2 +ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย + +ต้องมีคุณลักษณะเฉพาะ ดังต่อไปนี้ +ก) ปราศจากแมลงและไรที่มีชีวิต +ข) มีความชื้นไม่เกิน 14% +4.3 +การแบ่งชั นคุณภาพ +4.3.1 +ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทย + +แบ่งโดยการวัดความยาวของข้าวกล้อง ได้เป็น 3 ชั้นคุณภาพ ตามที่ระบุในตารางที่ 4 ดังนี้ +ตารางที่ 4 ชั นคุณภาพข้าวเปลือกของข้าวไทยตามความยาวของข้าวกล้อง และเกณฑ์ยอมรับ +(ข้อ 4.3.1) +ประเภท +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง* +>7.2 mm +6.8 – <7.2 mm < + +Chunk 5: +6.8 – 6.4 mm +< 6.4 mm +ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 1 +>75% +- +<5% +<5% +ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 2 +>20% +- +<10% +ข้าวเปลือก ชั้นคุณภาพที่ 3 +- +<50% + +หมายเหตุ +* การทดสอบพิจารณาเฉพาะข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก ไม่รวมข้าวหัก + + +7 +มกษ. 4004-2560 +4.3.2 +ชั นคุณภาพข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย +ชั้นคุณภาพของข้าวกล้องไทย ข้าวขาวไทย ข้าวเหนียวขาวไทย ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่ +อาจมีปนได้ และระดับการขัดสี ให้เป็นไปตามข้อก าหนดของข้าวขาวและข้าวกล้องแต่ละชนิด +ตามมาตรฐานสินค้าข้าว ที่ประกาศโดยกระทรวงพาณิชย์ (รายละเอียดตามภาคผนวก ข) +5. +การบรรจุหีบห่อ +5.1 +ข้าวเปลือกของข้าวไทย +หากมีการบรรจุ เช่น บรรจุกระสอบ กระสอบควรจะสะอาด แข็งแรง และมีการเย็บหรือปิดผนึกแน่น +เพื่อป้องกันการปนเปื้อน การปนของข้าวอื่นจากภายนอก และป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น +5.2 +ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย +ต้องบรรจุในภาชนะบรรจุที่เก็บรักษาเมล็ดข้าวได้เป็นอย่างดี วัสดุที่ใช้ต้องสะอาดมีคุณภาพ +ที่สามารถป้องกันการปนเปื้อนจากภายนอก มีคุณสมบัติทนทานต่อการขนส่ง และสามารถ +ป้องกันความเสียหายอันจะมีผลต่อคุณภาพของเมล็ดข้าว หากมีการใช้กระดาษหรือตราประทับ +ที่มีข้อมูลทางการค้าต้องใช้หมึกพิมพ์หรือกาวที่ไม่เป็นพิษ +6. +การแสดงฉลากและเครื่องหมาย +6.1 +สินค้าที่จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค +ต้องมีข้อความแสดงรายละเอียดที่หีบห่อหรือสิ่งห่อหุ้ม หรือป้ายสินค้า โดยข้อความต้อง +มองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวงหรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด +เกี่ยวกับลักษณะสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ +ก) ชื่อสินค้า + ให้แสดงข้อความว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” +ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) +ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น +ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ +ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 + ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเ��นียวขาว +ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) +จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก + + + +8 +มกษ. 4004-2560 +ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) +ช) วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน และ/หรือ วัน เดือน ปี ที่ผลิต หรือบรรจุ +กรณีของข้าวกล้องไทย ให้ระบุ วัน เดือน ปี ที่ควรบริโภคก่อน ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย +ที่เกี่ยวข้อง +ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก +ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม +กฎหมายที่เกี่ยวข้อง + +ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด + +ให้ระบุชื่อประเทศไทย ยกเว้นกรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศ +ญ) +ค าแนะน าการใช้หรือการหุงต้ม +ฎ) ภาษา +กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ +ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ +6.2 +สินค้าที่ไม่ได้จ าหน่ายโดยตรงต่อผู้บริโภค (non-retail container) หรือสินค้า +ที่จ าหน่ายเป็นปริมาณมากโดยไม่ได้บรรจุหีบห่อ +ต้องมีข้อความที่ระบุในเอกสารก ากับสินค้า หรือฉลาก หรือแสดงไว้ที่หีบห่อ โดยข้อความ +ต้องมองเห็นได้ง่าย ชัดเจน ไม่หลุดลอก ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวง หรือที่อาจจะท าให้เข้าใจผิด +เกี่ยวกับลักษณะของสินค้า อย่างน้อยดังต่อไปนี้ +ก) ชื่อสินค้า +ให้แสดงข้อคว + +Chunk 6: +ามค าว่า “ข้าวไทย” และอาจแสดงข้อความภาษาอังกฤษว่า “THAI RICE” +ข) พันธุ์ข้าว (กรณีที่จ าหน่ายเป็นข้าวเฉพาะพันธุ์และต้องการระบุชื่อพันธุ์ข้าว) + ต้องมีข้าวพันธุ์ที่ระบุชื่อไม่น้อยกว่า 90% โดยปริมาณ หรือมีเอกสารหลักฐานที่ท าให้เชื่อมั่น +ได้ว่าเป็นข้าวไทยพันธุ์ที่ระบุชื่อและสามารถตรวจสอบได้ว่าเป็นข้าวตรงตามพันธุ์ที่ระบุไว้ +ค) ประเภทสินค้าตามข้อ 3.1 + ให้แสดงข้อความว่าเป็นข้าวเปลือก หรือข้าวกล้อง หรือข้าวขาว หรือข้าวเหนียวขาว +ง) กลุ่มข้าวไทยตามข้อ 3.2 (กรณีมีการจัดกลุ่ม) +จ) น้ าหนักสุทธิเป็นระบบเมตริก +ฉ) ชั้นคุณภาพ (กรณีมีการจัดชั้นคุณภาพ) +ช) วัน เดือน ปี ที่ผลิตหรือบรรจุ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง + + +9 +มกษ. 4004-2560 +ซ) ข้อมูลผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก +ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม +กฎหมายที่เกี่ยวข้อง + +ฌ) ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด + +ให้ระบุชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้บรรจุ หรือผู้จ าหน่าย หรือผู้ส่งออก ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม +กฎหมายที่เกี่ยวข้อง +ญ) ภาษา +กรณีที่ผลิตเพื่อจ าหน่ายในประเทศต้องใช้ข้อความเป็นภาษาไทย แต่จะมีภาษาต่างประเทศ +ด้วยก็ได้ กรณีที่ผลิตเพื่อการส่งออกให้แสดงข้อความเป็นภาษาต่างประเทศได้ +6.3 +เครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร +การแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร ให้เป็นไปตามกฎกระทรวง เรื่อง ก าหนด +ลักษณะของเครื่องหมาย การใช้เครื่องหมาย และการแสดงเครื่องหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร +และประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง +7. +สารปนเปื้อน +ปริมาณสูงสุดของสารปนเปื้อนในสินค้าข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ +มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง +8. +สารพิษตกค้าง +ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดในข้าวไทย ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และ มกษ. 9002 +มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุด และ มกษ. 9003 +มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง สารพิษตกค้าง: ปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดที่ปนเปื้อนจาก +สาเหตุที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ +9. +สุขลักษณะ +9.1 +การผลิตและการปฏิบัติต่อข้าวไทยในขั้นตอนต่างๆ รวมถึงการเก็บรักษา การบรรจุ และการขนส่ง +ต้องปฏิบัติอย่างถูกสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อนที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค +9.2 +การปฏิบัติในระดับแปลงนา ต้องได้รับการรับรองหรือผ่านการประเมินตาม มกษ. 4401 มาตรฐาน +สินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) ส าหรับข้าว +หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า + + + + +10 +มกษ. 4004-2560 +9.3 +การปฏิบัติในการสีและการบรรจุ ต้องได้รับการรับรองตาม +- มกษ. 4403 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติที่ดีส าหรับโรงสีข้าว หรือ +- มกษ. 9023 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ +สุขลักษณะอาหาร หรือ +- มกษ. 9024 มาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ระบบการวิเคราะห���อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้อง +ควบคุมและแนวทางการน าไปใช้ หรือ +- ระบบการปฏิบัติที่ดีส าหรับการผลิต (Good Manufacturing Practices: GMP) และ/หรือระบบ +การวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Point: +HACCP) ตามมาตรฐาน General Principles of Food Hygiene (CAC/RCP 1-1969) หรือ +- มาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า หรือ +- ประกาศส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ เรื่อง ก าหนดหลักเกณฑ์และ +เงื่อนไขของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประ + +Chunk 7: +กอบการตรวจสอบมาตรฐาน หลักเกณฑ์เฉพาะ +ส าหรับการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานสินค้าข้าว +10. +วิธีวิเคราะห์และชักตัวอย่าง +10.1 +วิธีชักตัวอย่าง +10.1.1 +วิธีชักตัวอย่างข้าวไทยส าหรับการตรวจวิเคราะห์ตามรายการในข้อ 10.2 ให้เป็นไปตาม +ภาคผนวก ค +10.1.2 +วิธีชักตัวอย่างที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือข้อก าหนดของ +มาตรฐานสินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง + + + + + + + + +11 +มกษ. 4004-2560 +10.2 +วิธีวิเคราะห์ +10.2.1 +ให้เป็นไปตามวิธีที่ก าหนดในตารางที่ 5 +10.2.2 +วิธีวิเคราะห์ที่จ าเป็นนอกเหนือจากที่ระบุ ให้เป็นไปตามกฎหมาย หรือข้อก าหนดของมาตรฐาน +สินค้าเกษตรที่เกี่ยวข้อง +ตารางที่ 5 วิธีวิเคราะห์ +(ข้อ 10.2) +ข้อก าหนด +วิธีวิเคราะห์ +หลักการ +1. ปริมาณแอมิโลส (ข้อ 3.2) +ภาคผนวก ง.1 +สเปกโทรโฟโตเมตรี (spectrophotometry) +2. ปริมาณความชื้น (ข้อ 4.2.1 ก) +และข้อ 4.2.2 ข)) +ภาคผนวก ง.2 และ/ +หรือ ภาคผนวก ง.3 +แกรวิเมตรี (gravimetry) และ/หรืออิ +เล็กทรอเมตรี (electrometry) +3. วัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก +(ข้อ 4.2.1 ค) และข้อ 4.2.1 ง)) +ภาคผนวก ง.4 +แกรวิเมตรี (gravimetry) + +4. คุณภาพการขัดสีข้าว +(ข้อ 4.2.1 ข)) +ภาคผนวก ง.5 +แกรวิเมตรี (gravimetry) +5. ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง +(ส าหรับกลุ่มข้าวเจ้านุ่มและ +กลุ่มข้าวเหนียว) (ข้อ 3.2) +ภาคผนวก ง.6 +การสลายของเมล็ดข้าวในด่าง +6. ปริมาณข้าวเจ้าร่วนและข้าวเจ้าแข็ง +ในข้าวเจ้านุ่ม หรือปริมาณข้าวอื่นปน +(ข้อ 3.2) +ภาคผนวก ง.7 และ/ +หรือ ภาคผนวก ง.8 +ปฏิกิริยาที่ท าให้เกิดสี (colour reaction) +และ/หรือ การท าให้สุก (cooking) + + + +12 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก ก +ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของข้าวไทย +(ข้อ 3.2) +ตัวอย่างพันธุ์ข้าวของสินค้าข้าวไทย ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม กลุ่มข้าวเจ้าร่วน กลุ่มข้าวเจ้าแข็ง และกลุ่มข้าวเหนียวและลักษณะประจ าพันธุ์ มีรายละเอียด +ตามตารางที่ ก.1, ก.2, ก.3 และ ก.4 +ตารางที่ ก.1 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์ข้าวและลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +กข21 +กข39 +กข43 +กข51 +กข53 +กข59 +พิษณุโลก 80 +เจ้าขาว +เชียงใหม่ +เจ้าลีซอ +เจ้าฮ่อ +ปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) +17.0 ถึง 20.0 +15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +15.0 ถึง 19.0 +ความไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สีของข้าวเปลือก +ฟางกระน้ าตาล +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ความยาวเมล็ด +ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) +9.3 ถึง 11.1 +9.8 ถึง 11.6 +10.0 ถึง 11.8 +9.8 ถึง 11.6 +9.4 ถึง 11.2 +9.8 ถึง 11.6 +9.2 ถึง 11.0 +9.1 ถึง 10.9 +9.1 ถึง 10.9 +9.0 ถึง 10.8 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง +(มิลลิเมตร) +6.7 ถึง 7.9 +7.4 ถึง 8.6 +6.9 ถึง 8.1 +7.3 ถึง 8.5 +6.9 ถึง 8.1 +7.4 ถึง 8.6 +6.8 ถึง 8.0 +7.1 ถึง 8.3 +6.7 ถึง 7.9 +6.8 ถึง 8.0 +อัตราส่วนความยาวต่อ +ความกว้างของเมล็ดข้าวกล้อง +3.1:1 +ถึง +3.8:1 +3.1:1 +ถึง +4.1:1 +3.1:1 +ถึง +4.2:1 +3.1:1 +ถึง +4.2:1 +3.1:1 +ถึง +3.9:1 +2.7:1 +ถึง +3.9:1 +3.1:1 +ถึง +4.1:1 +3.1:1 +ถึง +4.2:1 +2.1:1 +ถึง +3.0:1 +3.1:1 +ถึง +3.9:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก +100 เมล็ด (กรัม) +2.0 ถึง 3.0 +2.3 ถึง 3.3 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 + +Chunk 8: +ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +3.1 ถึง 3.9 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.1 ถึง 3.1 +2.0 ถึง 3.0 +ระดับค่าการสลายเมล็ด +ในด่าง +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 +6.0 ถึง 7.0 + + +13 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ก.2 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน +ลักษณะประจ า +พันธุ์ +พันธุ์ข้าว +กข23 +กข37 +กข55 +กข63 +สุพรรณบุรี 2 +สุพรรณบุรี 60 +พิษณุโลก 3 +ขาวตาแห้ง 17 +ช่อลุง 97 +ปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน้ าหนัก) +23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 22.0 ถึง 23.0 23.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 20.0 ถึง 25.0 +ความไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไม่ไวต่อ +ช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สีของข้าวเปลือก +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ความยาวเมล็ด +ข้าวเปลือก +(มิลลิเม���ร) +9.0 ถึง 10.8 +9.7 ถึง 11.5 +9.6 ถึง 11.4 +7.6 ถึง 9.4 +9.0 ถึง 10.8 +9.2 ถึง 11.6 +9.1 ถึง 10.9 +9.1 ถึง 10.9 +9.3 ถึง 11.1 +ความยาวเมล็ดข้าว +กล้อง (มิลลิเมตร) +6.7 ถึง 7.9 +7.3 ถึง 8.5 +6.9 ถึง 8.1 +5.6 ถึง 6.8 +6.7 ถึง 7.9 +6.3 ถึง 8.7 +6.8 ถึง 8.0 +6.9 ถึง 8.1 +6.5 ถึง 7.7 +อัตราส่วนความยาว +ต่อความกว้างของ +เมล็ดข้าวกล้อง +3.1:1 +ถึง +3.6:1 +3.1:1 +ถึง +4.0:1 +3.1:1 +ถึง +4.3:1 +2.1:1 +ถึง +3.0:1 +3.1:1 +ถึง +3.9:1 +3.1:1 +ถึง +4.0:1 +3.1:1 +ถึง +4.1:1 +3.1:1 +ถึง +3.9:1 +3.1:1 +ถึง +3.9:1 +น้ าหนักของ +ข้าวเปลือก 100 เมล็ด +(กรัม) +2.1 ถึง 3.1 +2.3 ถึง 3.3 +2.2 ถึง 3.2 +2.0 ถึง 3.5 +2.1 ถึง 3.1 +2.3 ถึง 3.3 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 + + + + +14 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (1/3) +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +ชัยนาท 1 +พิษณุโลก 2 +สุพรรณบุรี 1 +สุพรรณบุรี 3 +กข27 +กข29 +กข31 +(ปทุมธานี 80) +กข35 +(รังสิต 80) +ปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน้ าหนัก) +26.0 ถึง 27.0 +26.0 ถึง 28.0 +26.0 ถึง 28.0 +มากกว่า 25 +24.0 ถึง 29.0 +26.6 ถึง 29.4 +27.0 ถึง 30.0 +27.0 ถึง 29.0 +ความไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สีของข้าวเปลือก +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ความยาวเมล็ด +ข้าวเปลือก +(มิลลิเมตร) +9.6 ถึง 12.0 +9.5 ถึง 11.3 +8.9 ถึง 11.1 +9.8 ถึง 11.6 +9.4 ถึง 11.2 +8.6 ถึง 10.4 +9.5 ถึง 11.3 +9.2 ถึง 11.0 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง +(มิลลิเมตร) +6.8 ถึง 8.6 +7.3 ถึง 8.5 +6.6 ถึง 8.0 +6.9 ถึง 8.1 +6.9 ถึง 8.1 +6.7 ถึง 7.9 +6.8 ถึง 8.0 +6.8 ถึง 8.0 +อัตราส่วนความยาว +ต่อความกว้างของ +เมล็ดข้าวกล้อง +3.2:1 ถึง 4.1:1 3.5:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.6:1 3.1:1 ถึง 4.0:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 3.9:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 3.1:1 ถึง 4.1:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก +100 เมล็ด (กรัม) +2.1 ถึง 3.1 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.1 ถึง 3.1 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 + + + + +15 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (2/3) +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +กข41 +กข47 +กข + +Chunk 9: +49 +กข57 +กข61 +เจ๊กเชย 1 +เหลืองประทิว 123 +ปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) +มากกว่า 25 +26.0 ถึง 28.0 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +29.0 ถึง 32.0 +ความไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สี���องข้าวเปลือก +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +เหลือง +ความยาวเมล็ด +ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) +9.5 ถึง 11.3 +9.5 ถึง 11.3 +9.5 ถึง 11.3 +9.5 ถึง 11.3 +9.6 ถึง 11.4 +9.4 ถึง 11.2 +9.2 ถึง 11.0 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง +(มิลลิเมตร) +7.1 ถึง 8.3 +7.3 ถึง 8.5 +7.5 ถึง 8.7 +6.8 ถึง 8.0 +7.5 ถึง 8.7 +7.1 ถึง 8.3 +7.2 ถึง 8.4 +อัตราส่วนความยาวต่อ +ความกว้างของเมล็ด +ข้าวกล้อง +3.1:1 ถึง 4.1:1 +3.2:1 ถึง 4.4:1 +3.1:1 ถึง 4.3:1 +3.1:1 ถึง 3.9:1 +3.1:1 ถึง 4.3:1 +3.1:1 ถึง 4.3:1 +3.1:1 ถึง 3.9:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก +100 เมล็ด (กรัม) +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.5 ถึง 3.2 +2.5 ถึง 3.2 +2.6 ถึง 3.3 +2.5 ถึง 3.2 +2.5 ถึง 3.2 + + + + + +16 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ก.3 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเจ้าแข็ง (3/3) +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +ขาวบ้านนา 432 +พลายงามปราจีนบุรี +ปราจีนบุรี 1 +ปราจีนบุรี 2 +อยุธยา 1 +เฉี ยงพัทลุง +เล็บนกปัตตานี +ปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) +26.0 ถึง 28.0 +26.0 ถึง 28.0 +26.0 ถึง 27.0 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +มากกว่า 25 +ความไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สีของข้าวเปลือก +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟาง +ฟางก้นจุด +ความยาวเมล็ด +ข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) +10.1 ถึง 11.9 +9.7 ถึง 11.5 +9.7 ถึง 11.5 +9.3 ถึง 11.1 +10.3 ถึง 12.1 +8.9 ถึง 10.7 +7.5 ถึง 9.3 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง +(มิลลิเมตร) +7.4 ถึง 8.6 +6.9 ถึง 8.1 +6.8 ถึง 8.0 +6.6 ถึง 7.8 +7.1 ถึง 8.3 +6.1 ถึง 7.3 +5.4 ถึง 6.6 +อัตราส่วนความยาวต่อ +ความกว้างของเมล็ด +ข้าวกล้อง +3.1:1 ถึง 4.0:1 +3.1:1 ถึง 3.7:1 +3.1:1 ถึง 3.7:1 +3.1:1 ถึง 3.7:1 +3.1:1 ถึง 3.9:1 +3.1:1 ถึง 3.8:1 +2.3:1 ถึง 3.0:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก +100 เมล็ด (กรัม) +2.3 ถึง 3.3 +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.1 ถึง 3.1 +2.3 ถึง 3.3 +1.9 ถึง 2.9 +1.9 ถึง 2.9 + + + + +17 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (1/2) +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +กข10 +กข12 +(หนองคาย 80) +กข14 +แพร่ 1 +สันป่าตอง 1 +ความไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +ไม่ไวต่อช่วงแสง +สีข้าวเปลือก +ฟาง +น้ าตาล +ฟางขีดน้ าตาล +น้ าตาล +ฟาง +ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก (มิลลิเมตร) +9.9 ถึง 11.7 +9.4 ถึง 11.2 +9.7 ถึง 11.5 +9.6 ถึง 11.4 +9.5 ถึง 11.3 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง (มิลลิเมตร) +7.0 ถึง 8.2 +6.6 ถึง 7.8 +6.9 ถึง 8.1 +6.8 ถึง 8.0 +6.5 ถึง 7.7 +อัตราส่วนความยาวต่อความกว้างของ +เมล็ดข้าวกล้อง +3.1:1 ถึง 3.9:1 +3.1:1 ถึง 3.9:1 +2.4:1 ถึง 3.0:1 +3.1:1 ถึง 3.7:1 +3.1:1 ถึง 3.8:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) +2.3 ถึง 3.3 +2.2 ถึง 3.2 +2.1 ถึง 3.1 +2.2 ถึง 3.2 +2.3 ถึง 3.3 +ตารางที่ ก.4 ตัวอย่างรายชื่อพันธุ์และลักษณะประจ าพันธุ์ของสินค้าข้าวไทยในกลุ่มข้าวเหนียว (2/2) +ลักษณะประจ าพันธุ์ +พันธุ์ข้าว +เห + +Chunk 10: +นียวอุบล 1 +เหนียวอุบล 2 +เหนียวสันป่าตอง +เขี ยวงู 8974 +หางยี 71 +ซิวแม่จัน +ความไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +ไวต่อช่วงแสง +สีข้าวเปลือก +ฟาง +น้ าตาล +น้ าตาล +ฟาง +น้ าตาล +ฟางก้นจุดม่วง +ความยาวเมล็ดข้าวเปลือก +(มิลลิเมตร) +9.5 ถึง 11.3 +9.3 ถึง 11.1 +9.5 ถึง 11.3 +9.8 ถึง 11.6 +9.3 ถึง 11.1 +9.9 ถึง 11.7 +ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง +(มิลลิเมตร) +6.6 ถึง 7.8 +6.6 ถึง 7.8 +6.6 ถึง 7.8 +6.7 ถึง 7.9 +6.5 ถึง 7.7 +6.8 ถึง 8.0 +อัตราส่วนความยาวต่อความกว้าง +ของเมล็ดข้าวกล้อง +3.1:1 ถึง 3.8:1 +3.1:1 ถึง 3.9:1 +3.1:1 ถึง 4.0:1 +3.3:1 ถึง 4.5:1 +3.1:1 ถึง 4.0:1 +3.1:1 ถึง 4.0:1 +น้ าหนักของข้าวเปลือก 100 เมล็ด (กรัม) +2.2 ถึง 3.2 +2.2 ถึง 3.2 +2.3 ถึง 3.3 +2.1 ถึง 3.1 +2.2 ถึง 3.2 +2.3 ถึง 3.3 + + + +18 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก ข +การแบ่งชั นคุณภาพข้าวขาวไทย ข้าวกล้องไทย และข้าวเหนียวขาวไทย +ข้อก าหนดส่วนผสม ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +และระดับการขัดสีของข้าวขาวแต่ละชั นคุณภาพ2/ +(ข้อ 4.3.2) +ข.1 +นิยาม (ใช้ในภาคผนวก ข ของมาตรฐานนี้) +ข.1.1 +ปลายข้าวซีวัน (small brokens C1) หมายถึง เมล็ดข้าวหักขนาดเล็กที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 7 +ข.1.2 +ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน (undermilled kernels) หมายถึง เมล็ดข้าวที่ผ่านการขัดสีต่ ากว่า +ระดับการขัดสีที่ก าหนดไว้ส าหรับข้าวแต่ละชนิด +ข.1.3 +ตะแกรงเบอร์ 7 (sieve No.7) หมายถึง ตะแกรงโลหะรูกลม หนา 0.79 mm (0.031 นิ้ว) +และเส้นผ่านศูนย์กลางรู 1.75 mm (0.069 นิ้ว) +ข.1.4 +เมล็ดพืชอื่น (other seeds) หมายถึง เมล็ดพืชอื่นๆ ที่มิใช่เมล็ดข้าว +ข.1.5 +ระดับการขัดสี (milling degree) หมายถึง ระดับของการขัดสีข้าว ให้แบ่งระดับการขัดสีออกเป็น +4 ระดับ ดังนี้ +(1) สีดีพิเศษ (extra well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าว +มีลักษณะสวยงามเป็นพิเศษ +(2) สีดี (well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเกือบทั้งหมดจนเมล็ดข้าวมีลักษณะ +สวยงามดี +(3) สีดีปานกลาง (reasonably well milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกเป็นส่วนมาก���นเมล็ดข้าว +มีลักษณะสวยงามพอสมควร +(4) สีธรรมดา (ordinarily milled) หมายถึง การขัดสีเอาร าออกแต่เพียงบางส่วน +ข.1.6 +พื้นข้าว (rice classification) หมายถึง เมล็ดข้าวที่มีขนาดความยาวระดับต่างๆ ตามที่ก าหนด +ซึ่งเป็นส่วนผสมของข้าวแต่ละชั้นตามอัตราส่วนที่ก าหนด + + + + +2/ ที่มา : ประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง มาตรฐานสินค้าข้าว พ.ศ.2559 + + +19 +มกษ. 4004-2560 +ข.2 +ชั นของข้าวไทย +ชั้นของข้าวไทยตามข้อ ข.1.6 แบ่งตามความยาวของข้าวขาวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก เป็น 4 ชั้น +ดังนี้ +(1) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 1 (long grain class 1) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด +ความยาวเกิน 7.0 mm +(2) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 2 (long grain class 2) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด +ความยาวเกิน 6.6 mm ถึง 7.0 mm +(3) ข้าวเมล็ดยาว ชั้น 3 (long grain class 3) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาด +ความยาวเกิน 6.2 mm ถึง 6.6 mm +(4) ข้าวเมล็ดสั้น (short grain) คือ ข้าวเต็มเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักที่มีขนาดความยาวไม่เกิน +6.2 mm +ข.3 +ชั นคุณภาพ +ข.3.1 ข้าวไทยประเภทข้าวขาว +แบ่งเป็น 12 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ +(1) ข้าวขาว 100% ชั้น 1 +(2) ข้าวขาว 100% ชั้น 2 +(3) ข้าวขาว 100% ชั้น 3 +(4) ข้าวขาว 5% +(5) ข้าวขาว 10% +(6) + +Chunk 11: +ข้าวขาว 15% +(7) ข้าวขาว 25% เลิศ +(8) ข้าวขาว 25% +(9) ข้าวขาว 35% +(10) ข้าวขาว 45% +(11) ข้าวขาวหักเอวันเลิศพิเศษ +(12) ข้าวขาวหักเอวันเลิศ + + + + + + + + + +20 +มกษ. 4004-2560 +ข.3.2 ข้าวไทยประเภทข้าวกล้อง +แบ่งเป็น 6 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ +(1) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 1 +(2) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 2 +(3) ข้าวกล้อง 100% ชั้น 3 +(4) ข้าวกล้อง 5% +(5) ข้าวกล้อง 10% +(6) ข้าวกล้อง 15% +ข.3.3 ข้าวไทยประเภทข้าวเหนียว +แบ่งเป็น 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้ +(1) ข้าวเหนียว 10% +(2) ข้าวเหนียว 25% +(3) ข้าวเหนียวขาวหักเอวัน +ข.4 +ข้อก าหนดส่วนผสมข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ และระดับการขัดสีของข้าวขาว +และข้าวเหนียวขาว ส าหรับข้าวไทยแต่ละชั นคุณภาพ +ให้เป็นไปตามที่ก าหนดในตารางที่ ข.1, ข.2, ข.3, ข.4 และ ข.5 + + + +21 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ข.1 มาตรฐานข้าวขาวของข้าวไทย +ชั น +คุณภาพ +ข้าวขาว +พื นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ส่วน +ของ +ต้นข้าว +ส่วนของข้าวหัก +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +ระดับ +การขัดสี +เมล็ดยาว +เมล็ดสั น +(ไม่เกิน +6.2 +mm) +ข้าวเต็ม +เมล็ด +ต้นข้าว +ข้าวหักและปลายข้าว C1 +ข้าวเมล็ดแดง +และ/หรือ +ข้าว +เมล็ดขัดสี +ต่ ากว่า +มาตรฐาน +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +เมล็ดเหลือง +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +เมล็ดท้องไข่ +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +เมล็ดเสีย +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +ข้าว +เหนียว +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +เมล็ดลีบ +เมล็ดอ่อน + เมล็ดพืชอื่น +วัตถุอื่น +(เปอร์เซ็นต์ +โดยน าหนัก) +ข้าว +เปลือก +(เมล็ด +/กก.) +ชั น 1 +(เกิน +7.0 +mm) +ชั น 2 +(เกิน +6.6 ถึง +7.0 +mm) +ชั น 3 +(เกิน +6.2 ถึง +6.6 +mm) +รวม +ข้าวหักที่มี +ความยาว +ต่ ากว่า +ก าหนด +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ปลายข้าว +C1 +100% +ชั้น 1 +70.0 +ส่วนที่ +เหลือ +5.0 +0 +60.0 +ส่วนที่เหลือ +4.0 +0.1 +0.1 +8.0 +5.0 ถึง 8.0 +0.5 +0.1 +3.0 +0.2 +1.5 +0.1 +3 +สีดีพิเศษ +100% +ชั้น 2 +40.0 +ส่วนที่เหลือ +5.0 +60.0 +ส่วนที่เหลือ +4.5 +0.5 +0.1 +8.0 +5.0 ถึง 8.0 +0.5 +0.2 +6.0 +0.25 +1.5 +0.2 + 5 +สีดีพิเศษ +100% +ชั้น 3 +30.0 +ส่วนที่เหลือ +5.0 +60.0 +ส่วนที่เหลือ +5.0 +0.5 +0.1 +8.0 +5.0 ถึง 8.0 +0.5 +0.2 +6.0 +0.25 +1.5 +0.2 +5 +สีดีพิเศษ +5% +20.0 +ส่วนที่เหลือ +10.0 +60.0 +ส่วนที่เหลือ +7.0 +0.5 +0.1 +7.5 +3.5 ถึง 7.5 +2.0 +0.5 +6.0 +0.25 +1.5 +0.3 +8 +สีดี +10% +10.0 +ส่วนที่เหลือ +15.0 +55.0 +ส่วนที่เหลือ 12.0 +0.7 +0.3 +7.0 +3.5 ถึง 7.0 +2.0 +1.0 +7.0 +0.5 +1.5 +0.4 +13 +สีดี +15% +5.0 +ส่วนที่เหลือ +30.0 +55.0 +ส่วนที่เหลือ +17.0 +2.0 +0.5 +6.5 +3.0 ถึง 6.5 +5.0 +1.0 +7.0 +1.0 +2.0 +0.4 +13 +สีดีปาน +กลาง +25% +เลิศ +50.0 +50.0 +40.0 +ส่วนที่เหลือ +28.0 ส่วนที่เหลือ +1.0 +5.0 +5.0 +5.0 +1.0 +7.0 +1.0 +2.0 +1.0 +15 +สีดีปาน +กลาง +25% +50.0 +50.0 +40.0 +ส่วนที่เหลือ +28.0 ส่วนที่เหลือ +2.0 +5.0 +5.0 +7.0 +1.0 +8.0 +2.0 +2.0 +2.0 +20 +สีธรรมดา +แต่ไม่เกิน +สีดีปานกลาง +35% +50.0 +50.0 +32.0 +ส่วนที่เหลือ +40.0 ส่วนที่เหลือ +2.0 +5.0 +5.0 +7.0 +1.0 +10.0 +2.0 +2.0 +2.0 +20 +สีธรรมดา +แต่ไม่เกิน +สีดีปานกลาง +45% +50.0 +50.0 +28.0 +ส่วนที่เหลือ +50.0 ส่วนที่เหลือ +3.0 +5.0 +5.0 +7.0 +1.0 +10.0 +2.0 +2.0 +2.0 +20 +สีธรรมดา +แต่ไม + +Chunk 12: +่เกิน +สีดีปานกลาง + + + + + +22 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ข.2 มาตรฐานข้าวขาวหักของข้าวไทย +ชนิดข้าวหัก +พื นข้าวที่ได้ +จากการขัดสี +ข้าวขาว +ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวเต็มเมล็ด +(>7 mm) +ข้าวเต็มเมล็ด +รวมกับข้าวหัก +ที��มีความยาว +>6.5 ส่วน +ข้าวหักที่มี +ความยาว +>5.0 ส่วน +ข้าวหักที่มี +ความยาว +<6.5 ส่วน +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ข้าวหักที่มี +ความยาว +<5.0 ส่วน +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ปลายข้าว +C1 +ข้าวเหนียวขาว +วัตถุอื่น +ทั งหมด +(รวมปลายข้าว +C1) +ปลายข้าว +C1 +เอวันเลิศพิเศษ +100% +15 + +74.0 + +10.0 +1.0 +1.5 +0.5 +0.5 +เอวันเลิศ +100%, 5%, +10% + +15.0 + +80.0 + +5.0 +1.5 +0.5 +0.5 + + + + + +23 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ข.3 มาตรฐานข้าวกล้องของข้าวไทย +ชั นคุณภาพ +ข้าวกล้อง +พื นข้าว +(เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ส่วนผสม +(เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ส่วน +ของ +ต้น +ข้าว +ส่วนของ +ข้าวหัก +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +เมล็ดยาว +เมล็ดสั น +(ไม่เกิน +6.2 mm) +ข้าว +เต็ม +เมล็ด +ต้นข้าว +ข้าวหัก +ข้าว +เมล็ดแดง เมล็ดเหลือง เมล็ดท้องไข่ เมล็ดเสีย +ข้าว +เหนียว +เมล็ดลีบ +เมล็ดอ่อน +เมล็ดพืชอื่น +วัตถุอื่น +ข้าว +เปลือก +ชั น 1 +(เกิน +7.0 mm) +ชั น 2 +และหรือ +ชั น 3 +(เกิน +6.2 ถึง +7.0 mm) +100% ชั้น 1 +70.0 +ส่วนที่เหลือ +5.0 +80.0 +ส่วนที่เหลือ +4.0 +8.0 +5.0 ถึง +8.0 +1.0 +0.50 +3.0 +0.50 +1.5 +3.0 +0.5 +100% ชั้น 2 +55.0 +ส่วนที่เหลือ +6.0 +80.0 +ส่วนที่เหลือ +4.5 +8.0 +5.0 ถึง +8.0 +1.5 +0.75 +6.0 +0.75 +1.5 +5.0 +1.0 +100% ชั้น 3 +40.0 +ส่วนที่เหลือ +7.0 +80.0 +ส่วนที่เหลือ +5.0 +8.0 +5.0 ถึง +8.0 +2.0 +0.75 +6.0 +0.75 +1.5 +5.0 +1.0 +5% +30.0 +ส่วนที่เหลือ +10.0 +75.0 +ส่วนที่เหลือ +7.0 +7.5 +3.5 ถึง +7.5 +2.0 +1.0 +6.0 +1.0 +1.5 +6.0 +1.0 +10% +20.0 +ส่วนที่เหลือ +15.0 +70.0 +ส่วนที่เหลือ +12.0 +7.0 +3.5 ถึง +7.0 +2.0 +1.0 +7.0 +1.0 +1.5 +7.0 +2.0 +15% +10.0 +ส่วนที่เหลือ +35.0 +65.0 +ส่วนที่เหลือ +17.0 +6.5 +3.0 ถึง +6.5 +5.0 +1.0 +7.0 +1.5 +2.5 +8.0 +2.0 + + + +24 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ข.4 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวของข้าวไทย +ชั นคุณภาพ +ข้าวเหนียวขาว +ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ส่วน +ของ +ต้นข้าว +ส่วนของ +ข้าวหัก +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ระดับ +การขัดสี +ข้าวเต็ม +เมล็ด +ต้นข้าว +ข้าวหักและปลายข้าว C1 +ข้าวเจ้า +ข้าวเมล็ด +แดง หรือ +ข้าวเมล็ด +ขัดสี +ต่ ากว่า +มาตรฐาน +เมล็ด +เหลือง +เมล็ด +เสีย + +เมล็ดลีบ +เมล็ดอ่อน + เมล็ดพืชอื่น +วัตถุอื่น +ข้าวเปลือก +(เมล็ด/ +กก.) +รวม +ข้าวหักที่มี +ความยาว +ต่ ากว่าก าหนด +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ปลายข้าว +C1 +10% +≥55.0 ส่วนที่เหลือ ≤12.0 +≤0.7 +≤0.3 +≥7.0 +≥3.5 +ถึง +7.0 +≤15.0 +≤2.0 +≤1.5 +≤0.5 +≤0.5 +≤10 +สีดี +25% +≥40.0 ส่วนที่เหลือ ≤28.0 +ส่วนที่เหลือ +≤2.0 +≥5.0 +≤5.0 +≤15.0 +≤6.0 +≤4.0 +≤2.0 +≤3.0 +≤20 +สี +ธรรมดา + + + + + +25 +มกษ. 4004-2560 +ตารางที่ ข.5 มาตรฐานข้าวเหนียวขาวหักของข้าวไทย +ชั นคุณภาพ +ข้าวเหนียวหัก +พื นข้าวที่ได้ +จากการขัดสี +ข้าวเหนียวขาว +ส่วนผสม (เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวและสิ่งที่อาจมีปนได้ +(เปอร์เซ็นต์โดยน าหนัก) +ข้าวเหนียว +เต็มเมล็ด +ข้าวเหนียว +เต็มเมล็ด +รวมกับ + +Chunk 13: + +ข้าวหักที่มี +ความยาว +>6.5 ส่วน +ข้าวหักที่มี +ความยาว +>5.0 ส่วน +ข้าวหักที่มี +ความยาว +<6.5 ส่วน +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ข้าวหักที่มี +ความยาว +<5.0 ส่วน +และไม่ผ่าน +ตะแกรง +เบอร์ 7 +ปลายข้าว +เหนียวขาว +C1 +ข้าวขาว +วัตถุอื่น +ทั งหมด +(รวมปลายข้าว +C1) +ปลายข้าวขาว +C1 +เอวัน +10%, 25% + +15.0 + +80.0 + +5.0 +15 +5.0 +0.5 + + + +26 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก ค +การชักตัวอย่าง +(ข้อ 10.1) +ค.1 +นิยาม +ค.1.1 +รุ่น (lot) หมายถึง สินค้าที่ส่งมอบมาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และตั้งสมมติฐานว่ามีคุณลักษณะ +เหมือนกัน เช่น แหล่งก าเนิด ชนิด การบรรจุ ตัวแทนบรรจุ ผู้ส่งมอบ +ค.1.2 +ตัวอย่างขั้นต้น (primary sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการชักตัวอย่างจากต าแหน่งใด +ต าแหน่งหนึ่งในรุ่น โดยจ านวนต าแหน่งที่เก็บตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น ค านวณตามค าแนะน า +ในตารางที่ ค.1 และตารางที่ ค.2 +ค.1.3 +ตัวอย่างรวม (aggregate sample หรือ composite sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการรวม +ตัวอย่างขั้นต้นในแต่ละรุ่น +ค.1.4 +ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ (laboratory sample) หมายถึง ข้าวที่ได้จากการลดปริมาณตัวอย่าง +จากตัวอย่างรวมที่ผสมกันเป็นอย่างดีในแต่ละรุ่นลงอย่างเหมาะสมเพียงพอส าหรับการวิเคราะห์ +หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ +ค.2 +ขั นตอนการปฏิบัติ +การชักตัวอย่างสินค้าข้าว ควรด าเนินการเพื่อให้ได้ตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของรุ่นมากที่สุดเท่าที่ +จะปฏิบัติได้ โดยชักตัวอย่างขั้นต้นในจ านวนต าแหน่ง ตามความถี่การชักตัวอย่างที่ค านวณได้ +และพยายามให้ต าแหน่งกระจายทั่วถึงทั้งรุ่น น าตัวอย่างขั้นต้นที่ได้ทั้งหมดมารวมกัน ผสมให้ +เข้ากันดีเป็นตัวอย่างรวม และน าตัวอย่างรวมมาลดปริมาณลงจนเหลือ��้ าหนักสองเท่าของ +ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการที่ก าหนด แบ่งตัวอย่างดังกล่าวเป็นสองส่วน บรรจุในถุงปิดสนิทเพื่อ +ส่งห้องปฏิบัติการ และเก็บตัวอย่างอีกส่วนที่เหลือไว้เพื่อใช้ในการทวนสอบ กรณีเกิดปัญหา +ค.2.1 การชักตัวอย่างสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ +การระบุความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นจากสินค้าในรุ่นที่บรรจุในหีบห่อ ให้ใช้สูตรค านวณ +เพื่อเป็นแนวทางในการก าหนดความถี่ในการชักตัวอย่างขั้นต้นต่อรุ่น F(n) ดังนี้ +F(n) = mBmI + mAmp + + +27 +มกษ. 4004-2560 +F(n) คือ +ความถี่ในการชักตัวอย่าง ทุกๆ n ถุง เพื่อท าการเก็บตัวอย่างขั้นต้น +n +คือ +จ านวนของหน่วยบรรจุต่อการชักตัวอย่างแต่ละครั้ง +mB +คือ +น้ าหนักของรุ่นสินค้า หน่วยเป็นกิโลกรัม +mI +คือ +น้ าหนักของตัวอย่างขั้นต้น ก าหนด 0.1 kg +mA +คือ +น้ าหนักของตัวอย่างรวม หน่วยเป็นกิโลกรัมโดยทั่วไปใช้ประมาณ 3 kg +mp +คือ +น้ าหนักบรรจุในแต่ละหีบห่อ หน่วยเป็นกิโลกรัม +ตารางที่ ค.1 ตัวอย่างของความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้นของสินค้าที่บรรจุในหีบห่อ +เพื่อหาตัวแทนไปทดสอบในห้องปฏิบัติการ โดยตัวอย่างที่ชักมีขนาดรุ่นที่ 25, 50 และ 100 ตัน +และก าหนดน าหนักตัวอย่างขั นต้น 0.1 kg +(ข้อ ค.1.2 และ ค.2.1) +น าหนักรุ่นสินค้า +(กิโลกรัม) +น าหนักต่อหน่วยบรรจุ +(กิโลกรัม) +ความถี่ในการชักตัวอย่างขั นต้น +(เก็บตัวอย่างจากทุกๆ n ถุง) +25,000 +1 +833 +25,000 +5 +167 +25,000 +25 +33 +25,000 +40 +21 +25,000 +50 +17 +50,000 +1 +1,667 +50,000 +5 +333 +50,000 +25 +67 +50,000 +40 +42 +50,000 +50 +33 +100,000 +1 +3,333 +100,000 +5 +667 +100,000 +25 +133 +100,000 +40 +83 +100,000 +50 +67 +หมายเหตุ สามารถชักตัวอย่างขั้นต้นเพิ่มเติมได้ในกรณีที่จ้านวนตัวอย่างรวมมีน้าหนักไม่เพียงพอ +หรือไม่ถึง 3 k + +Chunk 14: +g หรือไม่พอส้าหรับการวิเคราะห์หรือตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ + + + +28 +มกษ. 4004-2560 +ค.2.2 การชักตัวอย่างสินค้าจากกอง +การตัดสินจ านวนตัวอย่างที่ชักเพื่อไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ จะอยู่ภายใต้ข้อตกลงระหว่าง +ผู้เกี่ยวข้อง โดยปริมาณและขนาดของตัวอย่างขั้นต้นแสดงในตารางที่ ค.2 โดยหากน้ าหนักของ +ตัวอย่างที่จะส่งห้องปฏิบัติการไม่เป็นไปตามนี้ จ านวนของตัวอย่างขั้นต้นที่ชักจะเพิ่มขึ้น +ตารางที่ ค.2 จ านวนจุดชักตัวอย่างขั นต้นส าหรับสินค้าข้าวเป็นกองขนาดใหญ่ +(เช่น รถบรร���ุก เรือ ตู้รถไฟ โกดังสินค้า) +(ข้อ ค.1.2 และ ค.2.2) +น าหนักต่อรุ่น +(ตัน) +น าหนัก +ตัวอย่าง +ขั นต้น +(กรัม) +จ านวนจุด +ที่ชักตัวอย่าง +ขั นต้น +(จุด) +ปริมาณน้อยที่สุด +ที่ใช้ส่งห้องปฏิบัติการ +เพื่อวิเคราะห์สารปนเปื้อน +(กิโลกรัม) +ปริมาณตัวอย่าง +ที่น้อยที่สุดที่ส่ง +ห้องปฏิบัติการ +เพื่อวิเคราะห์อื่นๆ +(กิโลกรัม) +< 15 + + +400-3,000 +3 +- อะฟลาทอกซิน: 10 +- สารพิษตกค้าง โลหะหนัก +และไดออกซิน: 1 +- สารปนเปื้อน: 3 + +1-3 +ตามข้อก าหนดใน +การวิเคราะห์ +>15-30 +8 +>30-45 +11 +>45-100 +15 +>100-300 +18 +>300-500 +20 +>500-1,500 +25 +ค.2.3 การใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม + +รายละเอียดข้อแนะน าการใช้เครื่องมือชักตัวอย่าง วิธีชักตัวอย่าง และวิธีการลดปริมาณตัวอย่างรวม +เพื่อให้ได้ตัวอย่างส่งห้องปฏิบัติการ ให้ใช้แนวทางตาม ISO 24333:2009 Cereals and cereal +product-Sampling + + + +29 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก ง +วิธีวิเคราะห์ +(ข้อ 10.2) +ง.1 +การวิเคราะห์ปริมาณแอมิโลส +ง.1.1 เครื่องมือ +ง.1.1.1 สเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (spectrophotometer) +ง.1.1.2 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g +ง.1.1.3 เครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก (magnetic stirrer) พร้อมแท่งแม่เหล็ก +ง.1.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh +ง.1.1.5 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 100 ml +ง.1.1.6 ปิเปต แบบ volumetric pipette ขนาดความจุ 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml, และ 5 ml +ง.1.1.7 ปิเปต แบบ measuring pipette ขนาดความจุ 1 ml ถึง 10 ml +ง.1.2 สารเคมี +ง.1.2.1 เอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol: C2H5OH) 95% +ง.1.2.2 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodium hydroxide: NaOH) +ง.1.2.3 กรดเกลเชียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) +ง.1.2.4 ไอโอดีน (iodine) +ง.1.2.5 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassium iodide: KI) +ง.1.2.6 แอมิโลส (potato amylose) มีความบริสุทธิ์ไม่น้อยกว่า 95% +ง.1.3 วิธีการเตรียมสารละลาย +ง.1.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 2 N + +ชั่งโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.1.2.2 จ านวน 80.0 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml +ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น +1,000 ml + + + + +30 +มกษ. 4004-2560 +ง.1.3.2 สารละลายกรดแอซีติกเข้มข้น 1 N + +ละลายกรดเกลเชียลแอซีติกตามข้อ ง.1.2.3 ปริมาตร 60 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 800 ml +ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 1,000 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 1,000 ml +ง.1.3.3 สารละลายไอโอดีน +ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.1.2.4 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.1.2.5 จ านวน +2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรสีชาขนาดความจุ 100 ml +ทิ้งไว้ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml +เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา +ง.1.4 วิธี + +Chunk 15: +วิเคราะห์ +ง.1.4.1 +บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.1.1.4 ให้เป็นแป้ง ชั่งแป้งมา 0.1000 + 0.0005 g +ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท พยายามไม่ให้แป้ง +ติดบริเวณคอขวดแก้ว +ง.1.4.2 เติมเอทิลแอลกอฮอล์ 95% ตามข้อ ง.1.2.1 ปริมาตร 1 ml เขย่าเบาๆ เพื่อเกลี่ยแป้งให้ +กระจายออก +ง.1.4.3 เติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ 3.1 ปริมาตร 9 ml +ง.1.4.4 ใส่แท่งแม่เหล็กลงในขวดแก้ว ปั่นกวนตัวอย่างด้วยเครื่องปั่นกวนระบบแม่เหล็ก นาน 10 min +ให้เป็นน้ าแป้ง จากนั้นน าแท่งแม่เหล็กออกจากขวดแก้ว แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น +100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน +ง.1.4.5 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ชุดใหม่ เติมน้ ากลั่นประมาณ 70 ml เติมสารละลาย +กรดแอซีติก ตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 +ปริมาตร 2 ml +ง.1.4.6 ดูดน้ าแป้งตามข้อ ง.1.4.4 ปริมาตร 5 ml ใส่ในขวดแก้วปริมาตรที่เตรียมไว้ตามข้อ ง.1.4.5 +ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml ปิดจุก เขย่าให้เข้ากัน แล้วตั้งทิ้งไว้ 10 min +ง.1.4.7 +วัดความเข้มของสีของสารละลายตามข้อ ง.1.4.6 ด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ โดยอ่านเป็น +ค่าการดูดกลืนแสง (absorbance) ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank +ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ +ง.1.4.8 ท า blank โดยเติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 2 ml และสารละลาย +ไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml +ง.1.4.9 น าค่าการดูดกลืนแสง ไปหาปริมาณแอมิโลส (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) โดยเทียบกับกราฟมาตรฐาน +ที่เตรียมไว้ตาม ข้อ ง.1.5 + + +31 +มกษ. 4004-2560 +ง.1.4.10 ปรับปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้ให้เป็นที่ระดับความชื้น 14% โดยน้ าหนัก จากสูตร +ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่ความชื้น 14% โดยน้ าหนัก += A x 86 + + + + + + + + +100 – M +เมื่อ A = ปริมาณแอมิโลสในแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก + +M = ปริมาณความชื้นของแป้งข้าวที่วิเคราะห์ได้เป็นเปอร์เซ็นต์โดยน้ า���นัก +ง.1.5 การเขียนเส้นกราฟมาตรฐาน +ง.1.5.1 ชั่งแอมิโลส 0.0400 g ใส่ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ตามข้อ ง.1.1.5 ที่แห้งสนิท +แล้วด าเนินการเช่นเดียวกับตัวอย่างตามข้อ ง.1.4.2 ถึง ข้อ ง.1.4.4 และใช้เป็นสารละลายมาตรฐาน +ง.1.5.2 เตรียมขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml จ านวน 5 ขวด เติมน้ ากลั่นขวดละ 70 ml +เติมสารละลายกรดแอซีติกตามข้อ ง.1.3.2 ปริมาตร 0.4 ml ในขวดที่ 1 ปริมาตร 0.8 ml ในขวดที่ 2 +ปริมาตร 1.2 ml ในขวดที่ 3 ปริมาตร 1.6 ml ในขวดที่ 4 และปริมาตร 2.0 ml ในขวดที่ 5 +ตามล าดับ แล้วเติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.1.3.3 ปริมาตร 2 ml ลงในแต่ละขวด +ง.1.5.3 ดูดสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.1 ปริมาตร 1 ml, 2 ml, 3 ml, 4 ml และ 5 ml +ซึ่งเทียบเท่าปริมาณแอมิโลส 8%, 16%, 24%, 32% และ 40% โดยน้ าหนัก ตามล าดับ ใส่ในขวด +ที่เตรียมไว้ในข้อ ง.1.5.2 ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml และวัดค่าการดูดกลืนแสง +ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm หลังปรับเครื่องด้วย blank ให้ได้ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับศูนย์ +เช่นเดียวกับข้อ ง.1.4.7 +ง.1.5.4 น าค่าการดูดกลืนแสงกับปริมาณแอมิโลสในสารละลายมาตรฐานตามข้อ ง.1.5.3 มาเขียนเป็น +เส้นกราฟมาตรฐาน +ง.1.5.5 น าเส้นกราฟมาตรฐานที่ได้ตามข้อ ง.1.5.4 มาใช้แปลงค่าการดูดกลืนแสงให้เป็นปริมาณแอมิโลส +(เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) +ง.2 +การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยการอบในตู้อบลมร้ + +Chunk 16: +อน +ง.2.1 เครื่องมือ +ง.2.1.1 ตู้อบ (oven) +ง.2.1.2 เครื่องชั่งที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g +ง.2.1.3 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (siliga gel) +ง.2.1.4 เครื่องบดเมล็ดข้าวที่บดให้ละเอียดได้ถึง 80 mesh ถึง 100 mesh +ง.2.1.5 ถ้วยอบอะลูมิเนียมพร้อมฝาปิด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 cm หรือมากกว่า + + + +32 +มกษ. 4004-2560 +ง.2.2 วิธีวิเคราะห์ +ง.2.2.1 บดเมล็ดข้าวขาวด้วยเครื่องบดตามข้อ ง.2.1.4 ให้เป็นแป้ง +ง.2.2.2 เปิดฝาถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.1.5 โดยเอาฝาซ้อนไว้ใต้ถ้วยแล้วน าไปอบในตู้อบตามข้อ ง.2.1.1 +ที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C เป็นเวลา 2 h ปิดฝาถ้วย แล้วทิ้งให้เย็นในเดซิกเคเตอร์ชั่งน้ าหนัก +ที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่งและบันทึกไว้ +ง.2.2.3 ชั่งแป้งตามข้อ ง.2.2.1 น้ าหนักประมาณ 1 g ใส่ในถ้วยอะลูมิเนียมตามข้อ ง.2.2.2 แล้วบันทึก +น้ าหนักที่แน่นอนทศนิยม 4 ต าแหน่ง +ง.2.2.4 อบถ้วยแป้งตามข้อ ง.2.2.3 ในตู้อบที่อุณหภูมิ 130 ± 3 C โดยเปิดฝาไว้เป็นเวลา 2 h แล้วปิดฝา +ทิ้งไว้ให้เย็นในโถดูดความชื้น ชั่งให้ได้น้ าหนักที่แน่นอนและบันทึกไว้ +ง.2.2.5 ค านวณหาปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) จากสูตร + + + +ปริมาณความชื้น (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก)= (B - C) x 100 + + + + + + + + + (B - A) + + + +เมื่อ A = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝา (กรัม) + + + + B = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งก่อนอบ (กรัม) + + + + C = น้ าหนักถ้วยอะลูมิเนียมพร้อมฝาและแป้งหลังอบ (กรัม) +ง.3 +การวิเคราะห์ปริมาณความชื นด้วยเครื่องวัดความชื นแบบวัดปริมาณ +ความจุไฟฟ้า (Electrical Capacitance Type) +ใช้เครื่องวัดความชื้นแบบวัดปริมาณความจุไฟฟ้า ที่ผ่านการรับรองจากส านักชั่งตวงวัด กรมการค้าภายใน +กระทรวงพาณิชย์ และเป็นไปตามพระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัด พ.ศ.2542 +ง.4 +การตรวจสอบวัตถุอื่นปนในข้าวเปลือก +ง.4.1 เครื่องมือ +ง.4.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม +ง.4.1.2 ตะแกรงร่อน + + + + + +33 +มกษ. 4004-2560 +ง.4.2 วิธีวิเคราะห์ +ง.4.2.1 ชักตัวอย่างข้าวเปลือก ชั่งน้ าหนัก ประมาณ 100 g และบันทึก +ง.4.2.2 น าตัวอย่างข้าวดังกล่าว ผ่านตะแกรงร่อนเพื่อแยกสิ่งเจือปนที่หนัก เช่น เศษดิน ทราย กรวด +และเมล็ดที่แตกหัก ออก +ง.4.2.3 น าตัวอย่างที่ผ่านตะแกรงร่อน เข้าเครื่องเป่าท าความสะอาด เพื่อแยกสิ่งเจือปนที่มีน้ าหนักเบา +เช่น เศษฟาง ระแง้ และข้าวลีบ ออก +ง.4.2.4 หากยังมีสิ่งเจือปนเหลืออยู่ แยกด้วยสายตาอีกครั้ง บันทึกน้ าหนักข้าวเปลือกที่สะอาดแล้ว +ค านวณปริมาณสิ่งเจือปน ดังนี้ + เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของสิ่งเจือปน = (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) – น้ าหนักข้าวเปลือก x100 + + + + + + + (น้ าหนักข้าวเปลือก+วัตถุอื่น) +ง.5 +การตรวจสอบคุณภาพการขัดสี +(วิธีนี ใช้เฉพาะข้าวเปลือกที่มีความชื นไม่เกิน 15%) +ง.5.1 เครื่องมือ +ง.5.1.1 เครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม +ง.5.1.2 เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก +ง.5.1.3 เครื่องขัดขาว +ง.5.1.4 เครื่องคัดแยกข้าวหัก +ง.5.2 วิธีวิเคราะห์ +ง.5.2.1 ท าความสะอาดข้าวเปลือก ด้วยเครื่องท าความสะอาดโดยใช้ลม เพื่อก าจัดเมล็ดลีบ ระแง้ และวัตถุอื่น +(วัตถุหนักควรเลือกออกด้วยมือ) +ง.5.2.2 ชั่งข้าวเปลือกที่ท าความสะอาดแล้ว 125 g +ง.5.2.3 กะเทาะข้าวเปลือกด้วยเครื่องกะเทาะ จนเปลือกออกหมด ชั่งน้ าหนักข้าวกล้อง และบันทึก +ง.5.2.4 ขัดข้าวกล้องด้วยเครื่องขัดขา��� วิธีการตามค าแนะน าในการใช้เครื่องแต่ละรุ่น ทิ้งข้าวขาวไว้ให้เย็น +ชั่งน้ าหนัก และบันทึก +ง.5. + +Chunk 17: +2.5 น าข้าวขาวทั้งหมดไปแยกข้าวหักออกจากข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว ด้วยเครื่องคัดแยกข้าวหัก +ง.5.2.6 เมื่อข้าวผ่านตะแกรงหมดแล้ว ต้องคัดเลือกข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าวและข้าวหักด้วยวิธีตรวจพินิจอีกครั้ง +ง.5.2.7 ชั่งน้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด/ต้นข้าว และบันทึก + + + +34 +มกษ. 4004-2560 +ง.5.2.8 น าน้ าหนักข้าวเปลือก ข้าวกล้อง ข้าวขาว และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว ไปค านวณหาปริมาณแกลบ +ร า และข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว (เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนัก) ดังต่อไปนี้ + +เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของแกลบ = น้ าหนักข้าวเปลือก – น้ าหนักข้าวกล้อง X 100 + + +น้ าหนักข้าวเปลือก + +เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของร า = น้ าหนักข้าวกล้อง – น้ าหนักข้าวขาว X 100 + + +น้ าหนักข้าวเปลือก + +เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว = น้ าหนักข้าวเต็มเมล็ด ต้นข้าว X 100 + + + + +น้ าหนักข้าวเปลือก +หมายเหตุ การใช้เครื่องกะเทาะข้าวเปลือก และเครื่องขัดขาวติดต่อกันนานๆ จะท้าให้เครื่องร้อน +จึงควรพักเครื่องทุกๆ 10 ตัวอย่าง +ง.6 +การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง +การวิเคราะห์ค่าการสลายเมล็ดข้าวในต่าง เพื่อการตรวจสอบสินค้าข้าวเปลือกและข้าวกล้อง +ต้องน าไปขัดสีเป็นข้าวขาวก่อน +ง.6.1 เครื่องมือ +ง.6.1.1 เครื่องชั่ง ที่ชั่งได้ละเอียดถึง 0.0001 g +ง.6.1.2 ตู้อบ (oven) +ง.6.1.3 ขวดแก้วปริมาตร (volumetric flask) ขนาดความจุ 1,000 ml +ง.6.1.4 จานพลาสติกใสพร้อมฝาปิด (petri dish) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14.5 cm +ง.6.1.5 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 1 L ถึง 2 L +ง.6.1.6 เดซิกเคเตอร์ (desiccator) พร้อมซิลิกาเจล (silica gel) +ง.6.2 +สารเคมี +ง.6.2.1 โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (potassium hydroxide: KOH) 85% +ง.6.2.2 โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (potassium hydrogen phthalate: C8H5KO4) +ง.6.2.3 ฟีนอล์ฟทาลีน (phenolphthalein: C20H14O4) + + + +35 +มกษ. 4004-2560 +ง.6.3 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1.7%  0.05% +ง.6.3.1 การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ อาจท าได้ 2 วิธี +ก) การเตรียมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์โดยตรง +ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 20.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้วปิดฝา ทิ้งไว้ +ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรให้เป็น 1,000 ml +ข) การเตรียมสารละลายโพแทสเซีย��ไฮดรอกไซด์จาก stock solution +(1) ชั่งโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ 600.00 g ละลายในน้ ากลั่นที่ผ่านการต้มให้เดือดแล้ว +ปิดฝาทิ้งไว้ให้เย็น เติมน้ ากลั่นเพื่อปรับปริมาตรเป็น 1,000 ml เก็บไว้เป็น stock solution +ส าหรับเจือจางต่อไป +(2) น า stock solution จากข้อ ง.6.3.1 ข(1) ปริมาตร 33 ml มาเจือจางด้วยน้ ากลั่นให้ได้ +ปริมาตร 1,000 ml ส าหรับใช้เป็นสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ +ง.6.3.2 การหาความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ +ก) อบสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทที่อุณหภูมิ 130+3C เป็นเวลา 1 h แล้วทิ้งไว้ให้เย็น +ในเดซิกเคเตอร์ +ข) ชั่งสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ก) ประมาณ 0.5 g โดยอ่านให้ได้ +น้ าหนักที่แท้จริงทศนิยม 4 ต าแหน่ง และบันทึกไว้ +ค) ละลายสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลทตามข้อ ง.6.3.2 ข) ในน้ ากลั่นปริมาตร 50 ml +หยดสารละลายฟีนอล์ฟทาลีน เข้มข้น 0.1% ลงไป 3 หยด ไทเทรตกับสารละลายโพแทสเซียม +ไฮดรอกไซด์จนสารละลายเปลี่ยนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู และบันทึกปริมาตรของสารละลาย +โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไปเป็นมิลลิลิตร +ง) ท า blank ตามวิธีการเดียวกับข้อ ง.6.3.2 ค) โดยไม่ใช้สารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท +จ) ค านวณหา + +Chunk 18: +ความเข้มข้นของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ดังนี้ +เปอร์เซ็นต์ความเข้มข้นของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ = P x 56.109 x 100 +204.23 +V - B + เมื่อ V = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ในการไทเทรตกับ +โพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (มิลลิลิตร) + + +B = ปริมาตรของสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ใช้ไทเทรตกับ blank (มิลลิลิตร) + + +P = น้ าหนักของสารโพแทสเซียมไฮโดรเจนพทาเลท (กรัม) + + + + + + +36 +มกษ. 4004-2560 +ง.6.4 วิธีวิเคราะห์ +ง.6.4.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ด แบ่งใส่ในจานพลาสติกใสตามข้อ ง.6.1.4 จ านวน 4 จาน จานละ +25 เมล็ด แล้ววางบนพื้นราบสีด า +ง.6.4.2 เติมสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ ตามข้อ ง.6.3 ลงในจานพลาสติกตามข้อ ง.6.4.1 +ประมาณจานละ 100 ml ให้เมล็ดข้าวทุกเมล็ดจมอยู่ในสารละลาย และให้แต่ละเมล็ดอยู่ห่างกัน +พอสมควร แล้วปิดฝาทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30 + 5 C) โดยไม่ขยับเขยื้อนเป็นเวลา 23 h +ง.6.4.3 ตรวจเมล็ดข้าวตามข้อ ง.6.4.2 โดยพิจารณาระดับการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด +ตามลักษณะการสลายตามตารางที่ ง.1 +ง.6.5 การวินิจฉัย +เมล็ดข้าว���ี่มีระดับการสลายในด่าง ตั้งแต่ระดับ 1 ถึงระดับ 5 เป็นเมล็ดข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม +ตารางที่ ง.1 ระดับของการสลายของเมล็ดข้าวในด่างแต่ละเมล็ด +(ข้อ ง.6.4.3) +ระดับการสลายของเมล็ดข้าว +ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว +ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง +1 + +ลักษณะของเมล็ดข้าวไม่เปลี่ยนแปลงเลย +2 + +เมล็ดข้าวพองตัว +3 + +เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย +ออกมาจากบางส่วนของเมล็ดข้าว +4 + +เมล็ดข้าวพองตัวและมีแป้งกระจาย +ออกมารอบเมล็ดข้าวเป็นบริเวณกว้าง + + +37 +มกษ. 4004-2560 +ระดับการสลายของเมล็ดข้าว +ภาพลักษณะการสลายของเมล็ดข้าว +ลักษณะของเมล็ดข้าวที่สลายในด่าง +5 + +ผิวของเมล็ดข้าวปริทางขวางหรือทางยาว +และมีแป้งกระจายออกมารอบเมล็ดเป็น +บริเวณกว้าง +6 + +เมล็ดข้าวสลายตัวตลอดทั้งเมล็ด +มีลักษณะเป็นเมือกขุ่นขาว +7 + +เมล็ดข้าวสลายตัวทั้งเมล็ดและมีลักษณะ +เป็นแป้งเมือกใส + +ง.7 +วิธีการย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน +การวิเคราะห์โดยวิธีการย้อมสี เพื่อการตรวจสอบข้าวเปลือกและข้าวกล้อง ต้องน าไปขัดสีเป็น +ข้าวขาวก่อน +ง.7.1 เครื่องมือ +ง.7.1.1 บีกเกอร์แก้ว (beaker) ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาดใกล้เคียงกัน +ง.7.1.2 หลอดหยด (dropper) พลาสติก ขนาด 1 ml +ง.7.1.3 ขวดปริมาตร (volumetric flask) ขนาด 100 ml และ 2,000 ml +ง.7.1.4 ปิเปต (pipette) ขนาดความจุอ่านได้ 1 ml ถึง 10 ml +ง.7.1.5 ขวดใส่สารละลายสีชา ขนาดประมาณ 100 ml +ง.7.1.6 กระบอกตวง (cylinder) ขนาด 50 ml +ง.7.1.7 ปากคีบ (forcep) +ง.7.1.8 กระดาษทิชชู หรือกระดาษซับ +ง.7.1.9 เครื่องชั่งอ่านได้ละเอียด 0.01 g + + + + +38 +มกษ. 4004-2560 +ง.7.2 สารเคมี +ง.7.2.1 โซเดียมไฮดรอกไซด์ (sodiumhydroxide: NaOH) +ง.7.2.2 กรดเกลเซียลแอซีติก (glacial acetic acid: CH3COOH) +ง.7.2.3 ไอโอดีน (iodine: I2) +ง.7.2.4 โพแทสเซียมไอโอไดด์ (potassiumiodide: KI) +ง.7.2.5 ไอโซโปรปิลแอลกอฮอส์ (isopropyl alcohol) 70% +ง.7.2.6 น้ ากลั่นหรือน้ ากรองที่มีคุณภาพส าหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ +ง.7.3 วิธีการเตรียมสารละลาย +ง.7.3.1 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N +ละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามข้อ ง.7.2.1 จ านวน 4.00 g ในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml +ในขวดปริมาตร 100 ml ทิ้งให้เย็น แล้วปรับปริมาตรให้เป็น 100 ml +ง.7.3.2 สารละลายกรดแอซีติก เข้มข้น 1 N +ตวงกรดเกลเซียลแอซีติกตามข้อ ง.7.2.2 + +Chunk 19: + ปริมาตร 6 ml ใส่ลงในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml +แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 ml +ง.7.3.3 working solution +ผสมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.1 ปริมาตร 10 ml กับสารละลาย +กรดแอซีติก เข้มข้น 1 N ตามข้อ ง.7.3.2 ปริมาตร 10 ml แล้วปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น +2,000 ml +ง.7.3.4 สารละลายไอโอดีน: +ชั่งไอโอดีนตามข้อ ง.7.2.3 จ านวน 0.20 g และโพแทสเซียมไอโอไดด์ตามข้อ ง.7.2.4 จ านวน +2.00 g ละลายในน้ ากลั่นประมาณ 80 ml ในขวดแก้วปริมาตรขนาดความจุ 100 ml ทิ้งไว้ +ข้ามคืนในที่มืด หรือจนไอโอดีนละลายหมด ปรับปริมาตรด้วยน้ ากลั่นให้เป็น 100 +ml +เก็บสารละลายนี้ไว้ในขวดสีชา +หมายเหตุ สารละลายไอโอดีนนี้ไม่ควรเก็บนานเกิน 2 เดือน + + + + + +39 +มกษ. 4004-2560 +ง.7.4 วิธีวิเคราะห์ +ง.7.4.1 การเตรียมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว +(1) ตวงสารละลาย working solution ตามข้อ ง.7.3.3 ปริมาตร 30 ml +(2) เติมสารละลายไอโอดีน ตามข้อ ง.7.3.4 จ านวน 1.5 ml คนให้เข้ากัน สารละลายที่ได้ +จะใช้ส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว (ควรย้อมทันที) +ง.7.4.2 วิธีการย้อมสีเมล็ดข้าว +(1) ชักตัวอย่างข้าวขาว 3.0 g ใส่ในบีกเกอร์ ขนาด 100 ml หรือ ถ้วยพลาสติกใสที่มีขนาด +ใกล้เคียงตามข้อ ง.7.1.1 +(2) เติมไอโซโปรปิลแอลกอฮอล์ 70% ตามข้อ ง.7.2.5 ปริมาตร 15 ml แกว่งบีกเกอร์ หรือ +ถ้วยพลาสติกใส นาน 45 s แล้วรินแอลกอฮอล์ทิ้ง (แอลกอฮอล์ที่ใช้แล้วควรรวบรวมไว้ +ในขวดปิดฝา) +(3) เติมน้ ากลั่น ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 30 s แล้วรินน้ าทิ้ง +(4) เติมสารละลายส าหรับย้อมสีเมล็ดข้าว ตามข้อ ง.7.4.1 ปริมาตร 15 ml แกว่งนาน 45 s +แล้วรินสารละลายทิ้ง +(5) เติมน้ าปริมาตร 15 ml รินน้ าทิ้งจนแห้ง +(6) เทเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชู หรือ กระดาษซับ ตามข้อ ง.7.1.8 เอากระดาษทิชชูอีกแผ่น +มาซับด้านบน แล้วพลิกกลับ เพื่อเขี่ยเมล็ดข้าวลงบนกระดาษทิชชูแผ่นหลัง ปล่อยให้ข้าวแห้ง +นานประมาณ 5 min +(7) คัดแยกเมล็ดข้าวด้วยปากคีบ ตามข้อ ง.7.1.7 แยกออกเป็น 2 ส่วน คือ +ส่วนที่ 1 เมล็ดข้าวติดสีชมพูอ่อนถึงไม่ติดสี เป็นข้าวแอมิโลสต่ าอยู่ในกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม เช่น +ข้าวพันธุ์ กข39 กข43 กข51 +ส่วนที่ 2 เมล็ดข้าวติดสีน้ าเงินหรือม่วงเข้ม เป็นข้าวแอมิโลสปานกลาง หรือแอมิโลสสูง +ในกลุ่มข้าวเจ้าร่วน หรือข้าวเจ้าแข็ง เช่น ข้าวพันธุ์พิษณุโลก2 ชัยนาท1 +(8) น าข้าวที่คัดแยกได้ไปชั่งน้ าหนักทั้ง 2 ส่วน +(9) ค านวณหาเปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปนในข้าวกลุ่มข้าวเจ้าประเภทนุ่ม + เปอร์เซ็นต์ข้าวกลุ่มอื่นปน = น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 X 100 + + + น้ าหนักข้าวส่วนที่ 1 + น้ าหนักข้าวส่วนที่ 2 + + + + + +40 +มกษ. 4004-2560 +ง.8 +การวิเคราะห์ปริมาณข้าวอื่นปนโดยวิธีการต้มส าหรับการตรวจสอบเบื องต้น +วิธีตรวจสอบเมล็ดข้าวสุกต้มในน้ าเดือด เป็นวิธีการตรวจสอบเบื้องต้นอย่างง่าย เพื่อเป็นแนวทาง +ในการบ่งชี้เท่านั้น +ง.8.1 เครื่องมือ +ง.8.1.1 หม้อต้มน้ าไฟฟ้า +ง.8.1.2 ตะกร้าตะแกรงลวดไร้สนิม +ง.8.1.3 ช้อนหรือพายส าหรับเขี่ยเมล็ดข้าว +ง.8.1.4 กระจกส าหรับกดเมล็ดข้าว 2 แผ่น +ง.8.2 วิธีวิเคราะห์ +ง.8.2.1 ชักเมล็ดข้าวขาวมา 100 เมล็ดใส่ในตะกร้า +ง.8.2.2 ต้มน้ ากลั่นด้วยหม้อต้มน้ าไฟฟ้าให้เดือดเต็มที่ +ง.8.2.3 หย่อนตะกร้าพร้อมเมล็ดข้าวขาวลงต้มในน้ าเดือดตามข้อ ง.8.2.2 เป็นเวลาที่ได้จากการเทียบ +ค่าการสลายเมล็ดข้าวในด่าง ในระหว่างนั้นระวังอย่าให้เมล็ดข้าวเกาะติดกัน +ง.8.2.4 เมื่อต้มครบตามเวลาที่ได้จากการเทียบค่าตามข้อ ง.8.2.3 แล้วให้ยกตะกร้าขึ + +Chunk 20: +้นจากน้ าเดือด +จุ่มลงในน้ าเย็นที่เตรียมไว้ทันทีแล้วยกขึ้นให้สะเด็ดน้ า +ง.8.2.5 เทเมล็ดข้าวในตะกร้าลงบนกระจก เกลี่ยเมล็ดข้าวให้กระจาย น ากระจกอีกแผ่นมาวางทับเมล็ดข้าว +และกดให้แบน เพื่อตรวจดูภายในของเมล็ดข้าวทั้ง 100 เมล็ด ถ้าปรากฏว่าข้าวเมล็ดใดยังเป็นไต +โดยมีลักษณะเป็นจุดขุ่นขาวของแป้งดิบปรากฏภายในเมล็ด ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ +ง.8.3 การวินิจฉัย +เมล็ดข้าวที่ยังไม่สุกสมบูรณ์ ให้ถือว่าเป็นข้าวที่ไม่ใช่ข้าวไทยกลุ่มข้าวเจ้านุ่ม + + + + +41 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก จ +ภาพตัวอย่างข้าวที่อาจมีปนได้ + + + + + +ภาพที่ จ.1 ลักษณะเมล็ดข้าวที่อาจมีปนได้ +ก. ข้าวเมล็ดเหลือง ข. ข้าวเมล็ดเสีย ค. ข้าวเมล็ดขัดสีต่ ากว่ามาตรฐาน ง. ข้าวเมล็ดท้องไข่ +ข +ก +ค +ง + + + +42 +มกษ. 4004-2560 +ภาคผนวก ฉ +หน่วย +หน่วยและสัญลักษณ์ที่ใช้ในมาตรฐานนี้ และหน่วย SI (International System of units หรือ Le Système +International d’ Unités) ที่ยอมรับให้ใช้ได้ มีดังนี้ +รายการ +ชื่อหน่วย +สัญลักษณ์หน่วย +มวล +กิโลกรัม (kilogram) +kg + +กรัม (gram) +g +ปริมาตร +ลิตร (liter) +L + +มิลลิลิตร (milliliter) +ml +ความยาว +เซนติเมตร (centimeter) +cm + +มิลลิเมตร (millimeter) +mm + +นาโนเมตร (nanometer) +nm +เวลา +วินาที (second) +s + +นาที (minute) +min + +ชั่วโมง (hour) +h +อุณหภูมิ +องศาเซลเซียส (degree Celsius) +C +ความเข้มข้นของ +สารละลาย +นอร์แมลลิตี (normality) +N + + + + + + + + +องค์ความรู้กับการปลูกข้าว +ณ โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท +โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท +ผู้เรียบเรียง : จุฬาลักษณ์ ตลับนาค + + + + + + + +1 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +ค าน า + + +“องค์ความรู้กับการปลูกข้าว” หนังสือเล่มนี้จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนามือใหม่ หรือผู้สนใจ +เกี่ยวกับการปลูกข้าวโดยใช้วิถีธรรมชาติ ใช้สมุนไพรและสิ่งของที่อยู่รอบตัวน ามาใช้ในการจัดการผลิตข้าว และ +จัดท าขึ้นเพื่อเกษตรกรชาวนาที่ต้องการจะปรับเปลี่ยนการปลูกข้าวแบบดั้งเดิมที่มีการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืช +หันมาใช้สมุนไพร ชีวผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติในการจัดการผลิตข้าว นอกจากนี้ยังแนะแนวทางในการด าเนิน +ชีวิตของเกษตรกรให้มีวิถีชีวิตแบบพอเพียง ประหยัด ลดต้นทุนในการท านาและการด ารงชีวิต + +คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ใหญ่สุนทร มณฑา คุณเสรี กล่ าน้อย และวิทยากรจาก +ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จ.ชัยนาท ศูนย์วิจัยข้าว จ.ชัยนาท และ อ.สุวัฒน์ ทรัพยะ +ประภา ที่ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้กับนักเรียนเกษตรกรชาวนา + +คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่ให้การสนับสนุนการจัดท าโครงการ +ถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ เรื่องข้าว ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อพัฒนาท้องถิ่น + +คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.สถาพร ถาวรอธิวาสน์ ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัย +ราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ที่ให้ค าปรึกษา แนะน า ในการจัดท าโครงการและหนังสือเล่มนี้ + +คณะผู้จัดท าขอขอบพระคุณผู้ใหญ่สุนทร มณฑา ผู้เอื้อเฟื้อสถานที่ในการจัดท าโครงการถ่ายทอดองค์ +ความรู้ฯ เรื่องข้าว + +คณะผู้จัดท าหวังว่าหนังสือองค์ความรู้กับการปลูกข้าวเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และให้ความรู้กับผู้อ่าน +ทุกท่านได้เป็นอย่างดี หากผิดพลาดประการใดคณะผู้จัดท าขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย + + + + + + + + +คณะผู้ + +Chunk 21: +จัดท า + + + + + +ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท + + + + + + + +1 สิงหาคม 2562 + + + +2 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +สารบัญ + +เรื่อง + + + + + + + + + + หน้า +องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว................................................................................................................... 3 +ขบวนการเจริญเติบโตของพืช ................................................................................................................. 3 +การย่อยสลายทางชีวภาพ ....................................................................................................................... 5 +ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช +................................................................................................................. 5 +หลักของการเรียนรู้ในชีวิต +....................................................................................................................... 7 +อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว +................................................................................................ 8 +ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ ......................................................................................................... 9 +การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี .................................................................................................... 10 +ภาคผนวก .................................................................................................................................................... 11 +ขั้นตอนการเตรียมการก่อนปลูก +.............................................................................................................. 12 +เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช ..................................................................................................... 14 + + + + + +3 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +องค์ความรู้เกี่ยวกับการปลูกข้าว + + +ลักษณะของใบข้าวที่ดีต้องมีใบสีเขียว ตั้งชู สู้แสง แสงมีความจ าเป็นส าหรับพืชทุกชนิดรวมถึงข้าว ซึ่ง +สิ่งที่อยู่ในขบวนการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ + +ขบวนการเจริญเติบโตของพืช +1. การสังเคราะห์แสง (Phytosynthesis) + +คือกระบวนการสร้างอาหารของพืช เพื่อเลี้ยงตัวเอง วัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์แสงของพืช +เพื่อให้ 1. พืชด ารงชีวิตอยู่ได้ 2. เพื่อให้ผลผลิต 3. เพื่อสภาพแวดล้อม และ 4. เพื่อให้มนุษย์มีอากาศบริสุทธิ์ +หายใจ พืชที่มีสีเขียวจะสังเคราะห์แสงได้ โดยจะเกิดปฏิกิริยา ดังสมการ + +แสง +CO2 + H2O + + +น้ าตาล/กลูโคส/แป้ง + O2. +Chlorophyll + +โดยปฏิกิริยาเหล่านี้จะเกิดในคลอโรพลาสต์ (chloroplast) ในเซลล์พืช โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เปลี่ยน +ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) และไฮโดรเจน (H) จากน้ าให้กลายเป็นสารประกอบประเภทคาร์โบไฮเดรต +และมีก๊าซออกซิเจน (O2) เกิดขึ้นจากภาพที่ 1 แสดงการสังเคราะห์แสงของพืช ซึ่งเกิดในคลอโรพลาสต์ใน +เซลล์พืชในคลอโรพลาสต์จะมีรงควัตถุ (สารที่สามารถดูดกลืนแสงได้) ซึ่งคลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุที่พบบนใบไม้ +สามาถดูดกลืนแสงสีม่วง แดง น้ าเงิน (ความย + +Chunk 22: +าวคลื่น 400-700 นาโนเมตร) ได้ดี แต่สะท้อนแสงสีเขียวจึงท าให้ +เราเห็นใบไม้เป็นสีเขียว + + +ภาพที่ 1 การสังเคราะห์แสงของพืช + +CO2 +CO2 CO2CO2 +H2O +คลอโรฟิลล์ดูดพลังงานแสง +จากดวงอาทิตย์ + +4 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + + +ผลพลอยได้จากการสังเคราะห์แสง จะได้น้ าตาล น้ าและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ซึ่งประโยชน์ +ของน้ าตาลที่ได้จากการสังเคราะห์แสงของพืช คือ น้ าตาลจะไปช่วยเรื่องโครงสร้างของพืช เช่น เป็น +ส่วนประกอบของ Cellulose Hemicellulose และ Lignin นอกจากนี้ยังช่วยเรื่องการสะสมอาหารในพืช ท า +ให้พืชมีน้ าตาล แป้ง ไขมัน กรดอินทรีย์ต่าง ๆ ที่เพียงพอต่อการสร้างผลผลิต + +2. การหายใจ (Respiration) + +การหายใจของพืชจะท าให้พืชปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ า และพลังงานออกมา ดังสมการ + +น้ าตาลกลูโคส + ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ + น้ า + พลังงาน +C6H12O6 + O2 CO2 + H2O + ATP + +3. การสังเคราะห์โปรตีน + +การสังเคราะห์แสงจะท าให้เกิดการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์พืชเกิดขึ้น ดังสมการ + +ไนโตรเจน + กรดอินทรีย์ กรดอะมิโน +S + N + CHO CHON + S + +กรดอะมิโนที่ได้จะต่อเรียงกันเป็นสาย เรียกว่า โปรตีน ท าหน้าที่แบ่งเซลล์ ขยายขนาดเซลล์ ส่งผลต่อการเจริญ +ของยอดเจริญพืช และเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชทั้งหมด + +4. การคายน า + +คือ การไหลของน้ าจากดินผ่านเข้าทางรากออกสู่อากาศทางปากใบ ช่วยพืชในเรื่องของการระบาย +ความร้อน และเคลื่อนย้ายน้ าและแร่ธาตุ ดังภาพที่ 2 + +ภาพที่ 2 แสดงการคายน้ าของพืช +H2O และ แร่ธาตุ +ไอน า +ไอน า + +5 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +การย่อยสลายทางชีวภาพ + +เป็นก��ะบวนการท าให้สิ่ง ๆ นั้นเล็กลงหรือหายไป เป็นการเปลี่ยนอินทรียวัตถุให้สิ่งมีชีวิตสามารถ +น าไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ในเซลล์ได้ + +ธาตุอาหารที่จ าเป็นส าหรับพืช + +ธาตุอาหารที่พืชต้องการมี 16 ธาตุ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง และ +ธาตุอาหารเสริม นอกจากนี้ยังมีอีก 3 ธาตุ ที่อยู่ในอากาศ คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (C) ไฮโดรเจน (H) และ +ออกซิเจน (O) ดังแสดงในภาพที่ 3 และ 4 แสดงถึงหน้าที่และความส าคัญของธาตุอาหารแต่ละธาตุที่มีต่อพืช +1. ธาตุอาหารหลัก + +ธาตุอาหารหลักที่จ าเป็นส าหรับพืช ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) ธาตุ +เหล่านี้จ าเป็นส าหรับพืช ขาดไม่ได้ ซึ่งธาตุต่าง ๆ ก็จะท าหน้าที่ในการส่งเสริมพืชแตกต่างกันไป ไนโตรเจนจะ +ท าหน้าที่สร้างต้น กิ่ง ก้าน ใบ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต ฟอสฟอรัสจะท าหน้าที่ในกระบวนการ +สังเคราะห์แสง สร้างราก สร้างเมล็ด โพแทสเซียมจะท าหน้าที่ในการสร้างแป้ง น้ าตาล เคลื่อนย้ายธาตุอาหาร +หยุดการท างานของไนโตรเจน +2. ธาตุอาหารรอง + +เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็ขาดไม่ได้ ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) +และ ซัลเฟอร์ (S) +3. ธาตุอาหารเสริม + +เป็นธาตุอาหารที่พืชไม่ต้องการในปริมาณมาก แต่ก็น้อยกว่าธาตุอาหารรอง และขาดไม่ได้เช่นกัน +ได้แก่ เหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) นิเกิล (Ni) ซิลิกอน (Si) สังกะสี (Zn) โบรอน (B) โคบอล (Co) แมงกานีส +(Mn) โมลิบดีนัม (Mo) และ คลอรีน (Cl) +การน าธาตุอาหารไปใช้ + +ก่อนอื่นควรรู้จักกับค าว่า เรโช (Ratio) ของปุ๋ย คือ การน าธาตุอาหารหลักไนโตรเจนรวมกับ +ฟอสฟอรัสรวมกับโพแท + +Chunk 23: +สเซียม ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน ซึ่งเรียกว่า ปุ๋ยผสม ดังตัวอย่าง + +ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) +16 +8 +8 +46 +0 +0 +0 +0 +60 +18 +46 +0 + + +นอกจากนี้เกษตรกรสามารถผสมปุ๋ยใช้เองได้ โดยใช้แม่ปุ๋ยหลัก ๆ 3 ตัว ดังแสดงในภาพที่ 6 + +6 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + + +แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท +ภาพที่ 3 แสดงธาตุอาหารส าหรับการเจริญเติบโตของต้นข้าว + + +แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท +ภาพที่ 4 แสดงธาตุอาหารที่ต้นข้าวต้องใช้ต่อการผลิตข้าวเปลือก 100 ถังต่อไร่ + +7 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + + +แหล่งที่มา : โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท +ภาพที่ 5 แสดงสูตรปุ๋ยที่ผสมใช้เองในการปลูกข้าว + +หลักของการเรียนรู้ (ใช้ได้ทุกช่วงชีวิต) + +หลักของการเรียนรู้ ทุกคนสามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา รวมถึงเกษตรกรที่สนใจในการ +ค้นหาสิ่งใหม่ๆ มีหลักการง่าย ๆ คือ หัดสังเกต จดจ า เปรียบเทียบ หลักของธรรมชาติสิ่งทั้งหลายที่ปรากฏเป็น +ผล ล้วนเกิดจาก เหตุ อาศัยกับ ปัจจัย ร่วมกันเกิดขึ้นจะไม่ปรากฏเป็นอิสระโดดเดี่ยวล าพัง + +เหตุดี + ปัจจัยดี ผลดี +เหตุดี + ปัจจัยไม่ดี ผลดีลดลงหรือไม่ได้ผล +เหตุไม่ดี + ปัจจัยดี ผลไม่ดีหรือผลไม่ดีลดลง +เหตุไม่ดี + ปัจจัยไม่ดี ผลไม่ดี + + + + + +8 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +อิทธิพลและปัจจัยที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว + +ตั้งแต่หว่านข้าวลงนาจนกระทั่งเก็บเกี่ยว มีอิทธิพลต่าง ๆ มากมายที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต +ของข้าว เริ่มตั้งแต่การเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว เมล็ดพันธุ์ดีผลผลิตที่ได้ก็จะออกมาดี ถ้าเมล็ดพันธุ์ไม่ดี เป็นโรค มี +วัชพืชปนเยอะ ผลผลิตที่ได้ก็จะน้อยลง และในระหว่างที่ข้าวก าลังเจริญเติบโตอาจจะมีเรื่องของศัตรูพืชต่าง ๆ +แมลง โรค และวัชพืช สภาพแวดล้อม อากาศ เป็นต้น ดังแสดงในภาพที่ 3 + + +ภาพที่ 3 ปัจจัยและอิทธิพลต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการผลิตข้าว + + + + + + +เมล็ดพันธุ์ข้าว +(เหตุ) +ข้าวเปลือก +(ผล) +ดิน +ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า +หอย +น า +ลม +อุณหภูมิ +แสง +นก +โรคข้าว +สารป้องกันก าจัด +แมลง +ปุ๋ย +แมลงศัตรูข้าว +แมลงดี +น าค้าง +หมอก +เมฆ +ชีวภัณฑ์ป้องกันโรคและแมลง +สารป้องกันก าจัดโรคข้าว +ฝน +จุลินทรีย์ +หนู +ปูนา +ทุน +แรงงาน +เครื่องมือ +น ามัน +วัชพืช +ยาคุม/ฆ่าวัชพืช +ฮอร์โมน +ยาจับใบ +ใจ +ฤดูกาล +ความรู้ +อินทรีย์วัตถุ +การจัดการ +เวลา + +9 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +ศัตรูพืชของข้าวที่พบในแต่ละระยะ + +เกษตรกรสามารถพบโรคและแมลงเหล่านี้ได้ในแปลงนา ดังตารางที่ 1 ดังนั้นควรหมั่นส ารวจแปลงใน +ทุกระยะ เพื่อหาทางป้องกันก าจัดได้ทันเวลา และควรพิจารณาว่าจ านวนศัตรูพืชที่พบอยู่ในระดับใด สร้าง +ความเสียหายหนักหรือไม่ หากพบไม่เยอะเกษตรกรสามารถใช้สารชีวภัณฑ์ป้องกันก าจัดได้ทัน จะท าให้ +เกษตรกรลดต้นทุนได้มาก ซึ่งน้ าหมักต่าง ๆ ที่ช่วยป้องกันก าจัดโรค แมลง และส่งเสริมการเจริญเติบโตมี +รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก + +ตารางที่ 1 ตารางการจัดการศัตร + +Chunk 24: +ูข้าว + +ระยะกล้า +ระยะแตกกอ +ระยะตั้งท้อง +ระยะออกรวง +ระยะเก็บเกี่ยว +- โรคไหม้ +- โรคใบขีดโปร่งแสง +- โรคไหม้ +- โรคไหม้ +- โรคใบขีดโปร่งแสง +- โรคถอดฝักดาบ +- โรคใบขีดสีน้ าตาล +- โรคถอดฝักดาบ +- โรคถอดฝักดาบ + +- โรคขอบใบแห้ง +- โรคใบสีแสด +- โรคขอบใบแห้ง +- โรคขอบใบแห้ง + +- โรครากปม +- โรคไหม้ +- โรคกาบใบแห้ง +- โรคเมล็ดด่าง + +- โรคใบสีส้ม +- โรคขอบใบแห้ง +- โรครากปม +- โรคกาบใบแห้ง + + +- โรคถอดฝักดาบ +- โรคใบขีดโปร่งแสง +- โรครากปม + + +- โรคกาบใบแห้ง +- โรคใบสีส้ม +- โรคกาบใบเน่า + + +- โรครากปม + +- โรคใบจุดสีน้ าตาล + + +- โรคใบจุดสีน้ าตาล + + + + +- โรคใบหงิก + + + + +- โรคเหลืองเตี้ย + + + +เพลี้ยไฟ +หนอนกอ +เพลี้ยกระโดดสี +น้ าตาล +แมลงสิง + +มวนง่าม +เพลี้ยกระโดดสี +น้ าตาล +หนอนห่อใบข้าว +หนอนกระทู้คอรวง + +หนอนแมลงวันเจาะ +ยอด +หนอนห่อใบข้าว +หนอนกอ +หนอนกอ + +หนอนกระทู้กล้า +แมลงด าหนาม +แมลงหล่า + + +เพลี้ยกระโดดหลัง +ขาว +แมลงหล่า +แมลงสิง + + + +หนอนปลอก + + + + + + +10 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +การป้องกันก าจัดศัตรูพืชข้าวโดยชีววิธี +(โรงเรียนชาวนา บ้านคลองรี่ หมู่ 4 ต.ห้วยกรด อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท) + +สมุนไพรก าจัดแมลง (ที่มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน) +- สารสกัดสะเดา +- สารสกัดยาสูบ +- สารสกัดกระเทียม + พริกไทย + พริกป่น +- ยาสูบ + กะทิสด + กาแฟ +- น้ าสับปะรด + +สมุนไพรต้านโร���พืช (มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อน) +- เปลือกมังคุด + ขมิ้น + ผงพะโล้ +- น้ าขี้เถ้า +ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดแมลง +- เชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis ก าจัดหนอน เป็นประเภทกินแล้วตาย +- เชื้อรา Beauveria sp. ใช้ก าจัดหนอน เพลี้ย เป็นประเภทถูกตัวตาย +- เชื้อรา Metarhizium sp. ใช้ก าจัดมด ปลวก เป็นประเภทถูกตัวตาย + +ใช้สิ่งมีชีวิตในการป้องกันก าจัดโรคพืช +- เชื้อแบคทีเรีย Bacillus subtilis ป้องกันก าจัดโรคแคงเกอร์ โรคแอนแทรคโนส +- เชื้อรา Trichoderma harzianum ป้องกันก าจัดโรครากเน่า โคนเน่า + +วิธีการสกัดสมุนไพรมีมากมายหลายวิธี ได้แก่ +1. การสกัดด้วยน้ า +2. การสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ผสมน้ าส้มสายชู 5% +3. การสกัดด้วยการกลั่น +4. การสกัดด้วยการบีบคั้น + + + + +11 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + + + + + + + + + + + + + + + +ภาคผนวก + + + +12 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + + +แหล่งที่มา : ส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว +ภาพที่ 4 ปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนาชลประทาน + +รายละเอียดขั้นตอนการปลูกข้าวได้มีการประยุกต์ใช้จากปฏิทินแสดงขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตนา +ชลประทาน ของส านักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว (ภาพที่ 4) + +ขั นตอนการเตรียมการก่อนปลูก การเตรียมดิน +- เก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์เพื่อก าหนดปริมาณการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสม +- หลังการเก็บเกี่ยวให้พักดิน 1-2 เดือน และไม่เผาฟาง/ตอซัง โดยใช้ฮอร์โมนไส้กล้วย กับ เชื้อราไตรโค +เดอร์มาปล่อยลงในนาพร้อมกับน้ า เพื่อย่อยสลายฟางข้าวก่อนตีดิน +- ไถกลบตอซังทิ้งไว้ 10-15 วัน ถ้าระเบิดดินดานใช้ผานหัวหมู 7 นิ้ว จะท าให้ผลผลิตเพิ่ม และลดปุ๋ยเคมี +ได้มาก +- ระบายน้ าเข้านาแล้วไถย่ าด้วยจอบหมุน แล้วปรับหน้าดินให้สม่ าเสมอ +- ระบายน้ าออกและท าร่องระบายน้ าโดยชักร่องให้ตรงเป็นแนว ระยะห่างระหว่า + +Chunk 25: +ง 2-3 เมตร + +การเตรียมเมล็ดพันธุ์ +- ใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ +- น าเมล็ดพันธุ์มาเตรียมตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ + +13 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +การเพาะเมล็ดและคลุกข้าวงอกก่อนน าไปหว่าน +1. น าข้าวใส่กะละมังที่ปูด้วยมุ้ง/ตาข่ายเขียว +2. เทน้ าใส่ในกะละมังให้ท่วม เก็บเมล็ดข้าวที่ลอยน้ าออกไป ให้เหลือแต่เมล็ดที่จมอยู่ +3. ใส่น้ าหมักไตรโคเดอร์มา 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร เพื่อป้องกันเชื้อรา โรครากเน่าโคนเน่า +4. ใส่ฮอร์โมนไข่ 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของตาข้าว หน่อข้าว +5. ห่อข้าวด้วยตาข่ายเขียว และบ่มไว้ 12 ชั่วโมง +6. เมื่อครบ 12 ชั่วโมง ให้คลุกข้าวงอกด้วยของขมก่อนน าไปหว่าน +7. คลุกด้วยสารสกัดเมล็ดสะเดา 1 กก./ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันเพลี้ย หนอน ไม่ให้กินหน่อข้าว +8. คลุกด้วยผงฟ้าทะลายโจร 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อป้องกันนก หนู มากินเมล็ดข้าว +9. คลุกด้วยซิลิกอน (silicon) 1 ขีด/ข้าว 1 ถัง เพื่อบ ารุงต้นให้แข็งแรง และต้านทาน +10. คลุกด้วยฮอร์โมนไส้กล้วย 20 ซีซี/น้ า 1 ลิตร เพื่อเร่งการเจริญของหน่อข้าว ในไส้กล้วยมีฮอร์โมน GA +11. น าข้าวงอกไปหว่านได้ + +ระยะกล้า (ข้าวอายุ 1-25 วัน) +- ระบายน้ าออกให้ดินแห้งจนอายุข้าว 20 วัน +- ใส่ปุ๋ยเคมี ครั้งที่ 1 สูตร 18-20-0 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่ เมื่ออายุข้าว 20 วัน +- ระบายน้ าเข้ารักษาระดับน้ าประมาณ 5 เซนติเมตร +- ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช + +ระยะแตกกอ (ข้าวอายุ 25-55 วัน) +- ข้าวอายุ 40 วัน กรณีสามารถระบายน้ าได้ให้ระบายน้ าออก หรือไม่ต้องสูบน้ าเข้านา ปล่อยให้นาแห้ง +ประมาณ 5 วัน แล้วใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 2 สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ +- ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร +- ส ารวจแปลงนา หากไม่พบศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารก าจัดศัตรูพืช +- ใช้แหนแดงในการคลุมดินเพื่อตรึงไนโตรเจนจากอากาศลงมา ช่วยให้ต้นข้าวสมบูรณ์แข็งแรง + +ระยะข้าวตั งท้อง (ข้าวอายุ 55-90 วัน) +- ข้าวอายุ 55-60 วัน (ระยะแตกกอสูงสุด) +- ใส่ปุ๋ยเคมีครั้งที่ 3 (หาข้าวมีอาการขาดปุ๋ย) สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ +- ระบายน้ าเข้า รักษาระดับน้ า 5-10 เซนติเมตร ระวังไม่ให้ข้าวขาดน้ า +- ส ารวจแปลงนา + +14 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +- ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพล���้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี +ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก +- เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา + +ระยะน านมและข้าวสุกแก่ (ข้าวอายุ 90-120 วัน) +- ส ารวจแปลงนา +- ข้าวอายุ 100 วัน ระบายน้ าออกให้แห้ง เพื่อเร่งให้ข้าวสุกแก่พร้อมกัน +- เก็บเกี่ยวเมื่อข้าวอยู่ในระยะพลับพลึง 110-115 วัน หรือ 28-30 วันหลังออกดอก +- ไม่พบแมลงศัตรูพืชไม่ต้องฉีดพ่นสารเคมี กรณีพบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลเฉลี่ย 1 ตัว/ต้น จึงใช้สารเคมี +ชนิดดูดซึมตามค าแนะน าในฉลาก +- เมื่อพบพันธุ์ปนข้าวเรื้อให้ถอนท าลายออกนอกแปลงนา + +วิธีการท าแป้งกล้วย +1. หั่นกล้วยก่อน เคล็ดลับ หั่นกล้วยอย่างไรไม่ให้ด า (ให้ใช้กล้วยสุก 70-80%) +2. น าเห็ดนางรมมาท าน้ ายาฟอกขาว (เนื่องจากเห็ดมีสารอุลตาไธโอน) +3. หั่นเห็ด 100 กรัม จากนั้นน าไปต้มในน้ า 10 ลิตร (ให้น้ าเดือดก่อนค่อยใส่เห็ดลงไป) +4. ทิ้งไว้ให้เย็นประมาณ 30 นาที จากนั้นน าไปตากให้แห้ง +5. ท าการบดกล้ + +Chunk 26: +วยให้ละเอียด + +เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการก าจัดศัตรูพืช +กลุ่มสมุนไพร +1. รสขม ป้องกันก าจัด แมลงปากกัด ปากดูด หนอน และเพลี้ย +2. รสเผ็ดร้อน ป้องกันก าจัดแมลง เพลี้ย แมลงหวี่ขาว และ ไรชนิดต่างๆ +3. กลิ่นฉุน ไล่แม่ผีเสื้อ แมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ +4. รสฝาด ป้องกันแมลงกัดกินใบ แมลงดูดกินน้ าเลี้ยงและโรคพืชชนิดต่างๆ +5. มีน้ ายางสีขาว ก าจัดแมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ + +1. สารสกัดสมุนไพรชีวภาพ +วัสดุ : สมุนไพรสด 1 กก. + จุลินทรีย์หน่อกล้วย 1 ลิตร +วิธีท า : โขลกหรือบดสมุนไพร 1-3 อย่าง ในกลุ่มเดียวกัน หมักกับจุลินทรีย์หน่อกล้วยนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ า +เก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร สามารถเก็บไว้ใช้ได้นาน + +15 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +2. สารสกัดสะเดา +วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลสะเดาแห้งบด 500 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะ มีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน แล้วบีบกรองเอาส่วนน้ าใสเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน + +3. สารสกัดสุขสมหวัง +วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 900 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผงขมิ้นชัน 100 กรัม + ผงเปลือก +มังคุด 50 กรัม + ผลพะโล้ 100 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดสนิทนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช + +4. สารสกัดดีพร้อม +วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + +กระเทียมกลีบสดบด 300 กรัม + พริกป่น 100 กรัม + พริกไทยด าป่น 100 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช + +5. สารสกัดข่า กระเทียม พริก +วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เหง้า +ข่าแก่บด 250 กรัม + กระเทียมกลีบสดบด 200 กรัม + พริกป่น 50 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 14 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ไล่แมลง ป้องกันโรคพืช + +6. สารสกัดยาสูบ +วัสดุ : แอลกอฮอล์ 70% 450 ซีซี + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% 450 ซีซี + เส้น +ยาฉุน 200 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย + +16 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +7. สารสกัดยาสูบ กะทิ กาแฟ +วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม +วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า จากนั้นใส่ผง +กาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้ากันแล้วเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย + +8. สารสกัดยาสูบ กะทิ พริกป่น กาแฟ +วัสดุ : มะพร้าวแกงขูด 200 กรัม + เส้นยาฉุน 100 กรัม + น้ าร้อนเดือด 1 ลิตร + กาแฟด า 200 กรัม + พริก +ป่น 200 กรัม +วิธีท า : ผสมมะพร้าวแกงขูดกับเส้นยาฉุนและพริกป่นให้เข้าด้วยกัน เทน้ าร้อนเดือดลงไป ทิ้งไว้ให้เย็นจึงคั้นน้ า +จากนั้นใส่ผงกาแฟลงไปในน้ าที่คั้นได้ คนให้เข้าก + +Chunk 27: +ันแล้วเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดเพลี้ยไฟ + +9. น้ าคั้นสับปะรด +ผลสับปะรดสุก มีน้ าย่อยโปรตีนและน้ าย่อยไคติน น าน้ าคั้นไปฉีดพ่นท าลายไข่และตัวอ่อนของแมลง +ได้ +วัสดุ : ผลสับปะรดสุก +วิธีท า : ผลสับปะรดสุกเอาจุกและก้านออก น ามาหั่นทั้งเปลือกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่เครื่องปั่นน้ าผลไม้หรือท่อด้วย +ผ้ามุ้งไนล่อนน าไปโขลกหรือใช้มือสวมถุงมือยางขย าให้และบีบคั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร ผสมร่วมกับสารสกัดสมุนไพรหรือสารอื่นที่ฉีดพ่นเข้าทางใบ +สรรพคุณ : เสริมการป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย + +10. เชื้อแบคทีเรีย บีที +วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมรสจืด 2 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + น้ าตาลทราย 100 กรัม + ไข่ไก่ 1 ฟอง + หัว +เชื้อแบคทีเรีย บีที 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. +วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ +ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ +72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอน + +17 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +11. เชื้อราบิวเวอเรีย +วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว +เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. +วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ +ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ +72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย + +12. เชื้อราเมตาไรเซียม +วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + นมข้าว 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (กล่องละ 250 ซีซี) + หัว +เชื้อราบิวเวอเรีย 20 กรัม + กากน้ าตาล 1 กก. +วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ +ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ +72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. ��นให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดหนอนและเพลี้ย + +13. น้ ายาด่างทับทิม 5% +วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ผงด่างทับทิม 50 กรัม +วิธีท า : ละลายผงด่างทับทิมในน้ า คนให้ด่างทับทิมละลายจนหมด เก็บไว้ในขวดสีชาและน าไปใช้ได้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค + +14. น้ าขี้เถ้า 20% +วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ขี้เถ้าเตาฟืน 200 กรัม +วิธีท า : ใส่ขี้เถ้าลงผสมในน้ า คนให้ขี้เถ้ากระจายตัวสักพัก ทิ้งค้างคืนให้ตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ าใส ๆ +เก็บใส่ขวดไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค + + + +18 + +โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ (โรงเรียนชาวนาบ้านคลองรี่) โดย ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ชัยนาท + +15. น้ าปูนใส +วัสดุ : น้ า 1 ลิตร + ปูนกินหมาก 200 กรัม +วิธีท า : ใส่ปูนกินหมากละลายลงในน้ า คนให้กระจายตัวส + +Chunk 28: +ักพัก ทิ้งค้างคืนให้ปูนตกตะกอน รินหรือกรองเอาน้ า +ใส ๆ เก็บใส่ขวดไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค + +16. สารสกัดเปลือกผลมังคุด +วัสดุ : น้ าขี้เถ้า/น้ าปูนใส 20% 1 ลิตร + นาโนเวท (น้ ายาดูดซึม) 100 ซีซี + ผลเปลือกมังคุด 200 กรัม +วิธีท า : หมักในภาชนะมีฝาปิดนาน 7 วัน บีบคั้นเอาแต่น้ าใส เก็บใส่ภาชนะไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 20 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค + +17. จุลินทรีย์หน่อกล้วย +วัสดุ : หน่อกล้วย 3 กก. + กากน้ าตาล 1 กก. +วิธีท า : หน่อกล้วยสับชิ้นเล็ก คลุกเคล้ากับกากน้ าตาล คนสองเวลา เช้าและเย็น นาน 7 วัน คั้นเอาแต่น้ าเก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ใช้ล้างน้ าฝนหลังฝนหยุด ล้างน้ าค้าง ล้างหมอกบนใบข้าว ป้องกันก าจัดโรค + +18. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบไม่ใช้อากาศ +วัสดุ : จุลินทรีย์หน่อกล้วย + กากน้ าตาล + เหล้าขาว 35 ดีกรี + น้ าส้มสายชูกลั่น 5% อย่างละ 1 ถ้วยตวง +วิธีท า : ผสมส่วนประกอบทุกอย่างให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ 24 ชม. น ามาใช้ได้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจ��ดโรค + +19. เชื้อราไตรโคเดอร์มา ขยายแบบใช้อากาศ +วัสดุ : น้ า 10 ลิตร + น้ านมขาว 1 กล่อง (250 ซีซี) + นมข้าวโพด 1 กล่อง (250 ซีซี) + หัวเชื้อราไตรโคเดอร์ +มา 20 กรัม +วิธีท า : น าส่วนผสมทุกอย่างตีให้เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน ใส่ในภาชนะเติมอากาศด้วยเครื่องเป่าอากาศแบบตู้ +ปลานาน 24-72 ชม. หากต้องการใช้ด่วน หลังเป่าอากาศไปแล้ว 24 ชม. น ามาใช้ได้ เมื่อเป่าอากาศครบ +72 ชม. เติมกากน้ าตาลลงไป 1 กก. คนให้เข้ากัน เก็บไว้ใช้ +อัตราการใช้ : 100 ซีซี/น้ า 20 ลิตร +สรรพคุณ : ป้องกันก าจัดโรค + +1 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ + + + + +ข้าว เป็นพืชที่ใช้เป็นอาหารหลัก มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของคนเอเชียนานนับพันปีแล้ว เพราะมีตํานาน +เล่าขานและประเพณีสืบทอดเกี่ยวกับข้าวมากมาย ปัญหาของข้าวไทยมีมากมายหลายอย่าง ตั้งแต่ปัญหาด้านการ +ผลิต ปัญหาประสิทธิภาพทางการผลิตตกต่ํา ปัญหาจากข้าวที่ผลิตได้มีคุณภาพต่ําเนื่องจากพันธุ์ที่ปลูกไม่เหมาะสม +กับสภาพพื้นที่ เป็นต้น +ปัญหาที่พบในการทํานา + +1. พื้นดินที่มีลักษณะไม่ตรงกับพันธุ์ข้าวที่เรานํามาปลูก เช่น ดินเปรี้ยวจนเกินไป ดินเค็มจนเกินไป + +2. ปัญหาทรัพยากรน้ํา เช่น ขาดแคลนน้ําในการทํานา ปัญหาน้ําท่วม + +3. ปัญหาทางด้านศัตรูพืช + + +4. ปัญหาของราคาข้าวตกต่ํา + +5. ปัญหาของเมล็ดพันธุ์พืชได้ไม่ตรงตามมาตรฐาน +6. ปัญหาภัยแล้ง + +7. ปัญหาของต้นข้าวที่ไม่ต้านทานต่อโรค + +ปริมาณผลผลิตข้าวไทยโดยทั่วไปขึ้นกับสภาพดินฟ้าอากาศ เพราะชาวนาไทยปลูกข้าวโดยอาศัยน้ําฝน +เป็นหลักถึง 73% ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด เมล็ดพันธุ์ดีที่เหมาะกับแหล่งปลูกในแต่ละปีไม่พอ เรื่องแหล่งน้ําก็มี +ปัญหา ปัจจัยการผลิตราคาสูง ต้องพึ่งพาจากต่างประเทศ ทั้งปุ๋ย ทั้งสารเคมี การถ่ายทอดเทคโนโลยีการปลูกข้าว +ตามวิธีเกษตรกรรมที่ถูกต้องยังอยู่ในวงจํากัด ขาดความรู้ และเงินทุนที่จะใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม + +ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้ บางอย่างเกษตรกรผู้ปลูกข้าวสามารถควบคุมได้ บางอย่างควบคุมไม่ได้ จึงต้อง +ศึกษาหาความรู้และตามข่าวสารบ้านเมืองตลอดเวลาเพื่อปรับใช���ในชีวิตการทํางาน ในเอกสารนี้ได้รวบรวมเรื่อง +โรคข้าวและการป้องกันกําจัดเพื่อให้สามารถนําไป + +Chunk 29: +ใช้ในการดูแลข้าวที่ปลูกให้สมบูรณ์ มีผลผลิตเต็มเม็ดเต็มพื้นที่ +ไม่เสียหายจากโรคและแมลง โดยมีโรคและแมลงที่เกษตรกรสามารถศึกษาและนําไปใช้ในการดูแลข้าวที่ปลูก +ดังต่อไปนี้ +ข้อมูลเพิ่มเติม +ศัตรูข้าวและการป้องกันกําจัด +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php.htm +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=119.htm +http://www.agriqua.doae.go.th/plantclinic/Clinic/plant/rice/bakanae.html +http://www.thairath.co.th/content/360232 +http://www.thairath.co.th/content/360232 + +2 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +1. โรคถอดฝักดาบของข้าว (Bakanae) + + +โรคถอดฝักดาบ โรคหลาว ข้าวตัวผู้ หรือโรคโคนเน่า เป็นชื่อที่หมายถึงโรคชนิดเดียวกัน พบ +ระบาดมากในภาคเหนือ ภาคอีสาน และประปรายในภาคกลาง +เชื้อสาเหตุ เชื้อรา Fusarium moniliforme +ลักษณะอาการ พบโรคในระยะกล้า ต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่เกิน 7 วัน แต่มักพบกับข้าว +อายุเกิน 15 วัน ข้าวเป็นโรคจะผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าว โดยทั่วๆ ไป ต้นกล้าผอมสีเขียวอ่อนซีดมักย่าง +ปล้อง บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้องแต่รากจะเน่าช้ํา เวลาถอนมักจะขาดบริเวณโคนต้น ถ้าเป็นรุนแรง +กล้าข้าวจะตาย หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดํา 15-45 วัน โดยที่ต้นเป็นโรคจะสูง +กว่าข้าวปกติ ใบมีสีเขียวซีด เกิดรากแขนงที่ข้อลําต้นตรงระดับน้ํา บางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีชมพูตรง +บริเวณข้อที่ย่างปล้องขึ้นมา ต้นข้าวที่เป็นโรคมักจะตายและมีน้อยมากที่อยู่รอดจนถึงออกรวง + + + +ลักษณะต้นข้าวเป็นโรคถอดฝักดาบ + + +เชื้อราที่ข้อของต้นข้าวที่เป็นโรคถอดฝักดาบ + +3 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ + ข้าวเป็นโรคถอดฝักดาบ ถ้าไม่ตายจะเห็นรากที่ข้อเหนือน้ํา +การแพร่ระบาด เชื้อราจะติดไปกับเมล็ด สามารถมีชีวิตในซากต้นข้าวและในดินได้เป็นเวลาหลาย +เดือน พบว่าหญ้าชันกาด เป็นพืชอาศัยของโรค +การป้องกันกําจัด +1. หลีกเลี่ยงการนําเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เคยเป็นโรคระบาดมาปลูก +2. คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น เบนเลท – ดี ไดเทนเอ็ม 45 อัตราและการ +ปฏิบัติตามคําแนะนําของนักวิชาการ +3. ควรกําจัดต้นข้าวที่เป็นโรคโดยการถอนและเผาไฟเสีย +4. เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วควรไขน้ําเข้าที่นาและไถพรวน ปล่อยน้ําเข้าที่นาประมาณ 1-2 สัปดาห์ เพื่อลด +ปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน +สารเคมีที่ใช้กําจัด + +- แมนโคเซ็บ - คาร์เบนดาซิม +แนวทางการแก้ปัญหาโรคถอดฝักดาบ + +1. ชาวนาควรให้ความสําคัญกับเมล็ดพันธุ์ข้าวที่จะนํามาปลูก ไม่นําเมล็ดพันธุ์จากแปลงที่มี +ประวัติโรคถอดฝักดาบระบาดมาใช้ทําพันธุ์ และกรณีที่ซื้อเมล็ดพันธุ์มาปลูกควรมีวิธีการกําจัดเชื้อที่ +อาจติดมากับเมล็ดพันธุ์ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น + +1.1 การคลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยสารเคมีป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซ็บ หรือ คาร์เบนดา +ซิม +แมนโคเซ็บ ที่อัตราส่วน 3 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม เป็นต้นหรือแช่เมล็ดข้าวด้วย +สารละลายของสารเคมีป้องกันกําจัดเชื้อราดังกล่าว 30 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตร + + 1.2 การแช่เมล็ดพันธุ์ก่อนนําไปปลูกในน้ําอุ่นอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที +(Ishii, 1978) โดยวิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้เพื่อป้องกันและกําจัดโรคถอดฝักดาบในการปลูกข้าวแบบ +เกษตรอินทรีย์ที่ประเทศญี่ปุ่น + +2. สํารวจแปลงเพาะกล้าและแปลงปลูกอย่างสม่ําเสมอ เมื่อพบต้นข + +Chunk 30: +้าวที่เป็นโรคให้กําจัดทิ้ง + +3. ภายหลังการเก็บเกี่ยวข้าว ชาวนาควรทําการแล้วควรไขน้ําเข้าแปลงและไถพรวน ปล่อยน้ํา +ขังในแปลงนาน 1 - 2 สัปดาห์ เพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน + +อ้างอิงข้อมูลจากวารสารอู่ข้าว ฉบับเดือน มกราคม พ.ศ. 2559 หน้า 45-46 ผู้เขียน ดร.อุดม +ศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน) ชาวนาท่าน +ใดต้องการจะปรึกษาปัญหาเรื่องโรคข้าวสอบถามได้ที่อีเมล agrusl@ku.ac.th + +4 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +2. โรคไหม้ (Rice Blast Disease) +พบมาก +ในนาน้ําฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ +ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกและภาคใต้ สาเหตุ เกิดากเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. +อาการแผลจุดสีน้ําตาลคล้ายรูปตา +อาการแผลรูปตาตรงกลางมีสีเทา +อาการใบไหม้คล้ายน้ําร้อนลวก +โรคไหม้ระบาดในแปลงกล้า +อาการ +ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ําตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2- +5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่ว +บริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้ +ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลําต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบใน +ระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ําสีน้ําตาลดํา และมักหลุดจาก +กาบใบเสมอ +ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทําลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ +ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ําสีน้ําตาลที่บริเวณคอรวง ทําให้เปราะ +หักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก +การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทําให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอน +กลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ําค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น +อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี + +5 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ + +อาการโรคไหม้ในระยะข้าวออกรวง (โรคเน่าคอรวง) +การป้องกันกําจัด +1. ใช้พันธุ์ต้านทานโรค + ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 +ปราจีนบุรี 1 พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1 + ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง +1 หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ํารู + ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม +ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง +พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออํานวย เช่น +ฝนพรํา หรือหมอก น้ําค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจําเป็น หรือเป็นดินหลังน้ําท่วม +• หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบาย +ถ่ายเทอากาศด��� และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง +รวดเร็ว +• คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม +โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์ของ +พื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล +ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระ + +Chunk 31: +บุ + +2. หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม อย่าตกกล้าหนาแน่นนัก อัตราเมล็ดพันธุ์ที่พอเหมาะคือ 15 +-20 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และอย่าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป + +6 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +3. ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อราคลุกเมล็ดพันธุ์ เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาด หรือป้องกันการเกิดโรค +โดยพิจารณาความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ +3.1 คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยยาปราบเชื้อรา เช่น เบนเลท-ที, คาซูมิน, ไตรไซเคลโซล คาร์เบน +ดาซิม โปรโครรัส ตามคําแนะนําของนักวิชาการ +3.2 ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาด หรือพบว่าใบมีแผล ขนาดรูปตาทั่วไป เป็นจํานวนหนาตา +โดยเฉพาะระยะข้าวตั้งท้อง ควรฉีดพ่นยา คาซูมิน เบนเลท, ฮิโนซาน บีมฟูจี-วัน ซาพรอล ตามอัตรา +ที่ระบุ หรือตามคําแนะนําของนักวิชาการ หรือหว่านโคราทอป 5 เปอร์เซ็นต์ อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ +ระยะตั้งท้องเพียง 1 ครั้ง จะป้องกันโรคไหม้ระยะคอรวง + +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=112.htm + + +3. โรคใบจุดสีน้ําตาล (Brown Spot Disease) + พบมาก ทั้ง นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก +เฉียงเหนือ และ ภาคใต้ สาเหตุ เชื้อรา Bipolaris oryzae (Helminthosporium oryzae +Breda de Haan.) + เชื้อราสาเหตุ +อาการ แผลที่ใบข้าว พบมากในระยะแตกกอมีลักษณะเป็นจุดสีน้ําตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอก +สุดของแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 +มิลลิเมตร แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาด +ประมาณ 1-2 x 4-10 มิลลิเมตร บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลมหรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้าย +สนิมกระจัดกระจายทั่วไปบนใบข้าว แผลยังสามารถเกิดบนเ��ล็ดข้าวเปลือก(โรคเมล็ดด่าง) บางแผล +มีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ทําให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อ +นําไปสีข้าวสารจะหักง่าย + อาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบ + +7 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +การแพร่ระบาด เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลม และติดไปกับเมล็ด +การป้องกันกําจัด +• ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และโดยเฉพาะพันธุ์ที่มีคุณสมบัติต้านทานโรคใบ +สีส้ม เช่น ภาคกลางใช้พันธุ์ปทุมธานี 1 ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้พันธุ์เหนียวสัน- +ป่าตอง และหางยี 71 +• ปรับปรุงดินโดยการไถกลบฟาง หรือเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ดินโดยการปลูกพืชปุ๋ยสด หรือปลูก +พืชหมุนเวียนเพื่อช่วยลดความรุนแรงของโรค +• คลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ หรือคาร์เบนดาซิม+แมน +โคเซบ อัตรา 3 กรัม / เมล็ด 1 กิโลกรัม +• ใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรา 5-10 กิโลกรัม / ไร่ ช่วยลดความรุนแรงของโรค +• กําจัดวัชพืชในนา ดูแลแปลงให้สะอาด และใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสม +• ถ้าพบอาการของโรคใบจุดสีน้ําตาลรุนแรงทั่วไป 10 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ใบในระยะข้าวแตกกอ +หรือในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องใกล้ออกรวง เมื่อพบอาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบธงในสภาพฝนตกต่อเนื่อง +อาจทําให้เกิดโรคเมล็ดด่าง ควรพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น อีดิเฟนฟอส คาร์เบนดาซิม แมน +โคเซบ หรือ คาร์เบนดาซิม+แมนโคเซบ ตามอัตราที่ระบุ + +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=113.htm + +4. โรคใบขีดสีน้ําตาล (Narrow Brown Spot Disease) + +พบม + +Chunk 32: +าก ทั้ง นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาค +ตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ + อาการใบขีดสีน้ําตาล +สาเหตุ เชื้อรา Cercospora oryzae I. Miyake +อาการ ลักษณะแผลที่ใบมีสีน้ําตาลเป็นขีด ๆ ขนานไปกับเส้นใบข้าว มักพบในระยะข้าวแตกกอ แผล +ไม่กว้าง ตรงกลางเล็กและไม่มีรอยช้ําที่แผล ต่อมาแผลจะขยายมาติดกัน แผลจะมีมากตามใบล่างและ + +8 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและ��ึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +ปลายใบ ใบที่เป็นโรคจะแห้งตายจากปลายใบก่อน ต้นข้าวที่เป็นโรครุนแรงจะมีแผลสีน้ําตาลที่ข้อต่อ +ใบได้เช่นกัน เชื้อนี้สามารถเข้าทําลายคอรวง ทําให้คอรวงเน่าและหักพับได้ +การแพร่ระบาด สปอร์ของเชื้อราสามารถปลิวไปกับลม และติดไปกับเมล็ด +การป้องกันกําจัด +• ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมเฉพาะท้องที่ เช่น ภาคใต้ใช้พันธุ์แก่นจันทร์ ดอกพะยอม +• ใช้ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) อัตรา 5-10 กิโลกรัมต่อไร่ สามารถช่วยลดความรุนแรง +ของโรคได้ +• กรณีที่เกิดการระบาดของโรครุนแรงในระยะข้าวตั้งท้อง อาจใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น +คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ เพื่อป้องกันการเกิดโรคเมล็ดด่าง + +5. โรคใบวงสีน้ําตาล (Leaf Scald Disease) + +พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ข้าวไร่ภาคเหนือ +สาเหตุ เชื้อรา Rhynocosporium oryzae Hashioka&Yokogi +อาการ ระยะกล้าข้าวจะแสดงอาการไหม้ที่ปลายใบและมีสีน้ําตาลเข้ม ระยะแตกกออาการส่วนใหญ่ +จะเกิดบนใบ แต่มักจะเกิดแผลที่ปลายใบมากกว่าบริเวณอื่นๆ ของใบ แผลที่เกิดบนใบในระยะแรกมี +ลักษณะเป็นรอยช้ํา รูปไข่ยาวๆ แผลสีน้ําตาลปนเทา ขอบแผลสีน้ําตาลอ่อน จากนั้นแผลจะขยาย +ใหญ่ขึ้นเป็นรูปวงรี ติดต่อกัน ทําให้เกิดอาการใบไหม้บริเวณกว้าง และเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว ในที่สุด +แผลจะมีลักษณะเป็นวงซ้อนๆ กันลุกลามเข้ามาที่โคนใบ มีผลทําให้ข้าวแห้งก่อนกําหนด + อาการโรคใบวงสีน้ําตาลที่ปลายใบ +การแพร่ระบาด มีพืชอาศัย เช่น หญ้าชันกาด และหญ้าขน +การป้องกันกําจัด +• ใช้พันธุ์ข้าวต้านทาน เช่น ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือใช้พันธุ์กําผาย 15 หางยี 71 +• กําจัดพืชอาศัยของเชื้อราสาเหตุโรค +• ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาด หรือพบแผลลักษณะอาการดังที่กล่าวข้างต้นบนใบข้าว +จํานวนมาก ในระยะข้าวแตกกอ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น ไธโอฟาเนทเมทิล โพรพิโค +นาโซล ตามอัตราที่ระบุ + + +9 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +6. โรคกาบใบแห้ง (Sheath blight Disease) + +พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคเหนือ และ ภาคใต้ +สาเหตุ เชื้อรา Rhizoctonia solani (Thanatephorus cucumeris (Frank) Donk) +อาการ เริ่มพบโรคในร���ยะแตกกอ จนถึงระยะใกล้เก็บเกี่ยว ยิ่งต้นข้าวมีการแตกกอมากเท่าใด ต้น +ข้าวก็จะเบียดเสียดกันมากขึ้น โรคก็จะเป็นรุนแรง ลักษณะแผลสีเขียวปนเทา ขนาดประมาณ 1-4 x +2-10 มิลลิเมตร ปรากฏตามกาบใบ ตรงบริเวณใกล้ระดับน้ํา แผลจะลุกลามขยายใหญ่ขึ้นจนมีขนาด +ไม่จํากัดและลุกลามขยายขึ้นถึงใบข้าว ถ้าเป็นพันธุ์ข้าวที่อ่อนแอ แผลสามารถลุกลามถึงใบธงและกาบ +หุ้มรวงข้าว ทําให้ใบและกาบใบเหี่ยวแห้ง ผลผลิตจะลดลงอย่างมากมาย + อาการโรคกาบใบแห้ง + +การแพร่ระบาด เชื้อราสามารถสร้างเม็ดขยายพันธุ์ อยู่ได้นานในตอซังหรือวัชพืชในนาตามดินนา +และมีชีวิตข้ามฤดูหมุนเวียนทําลายข้าวได้ตลอดฤดูการทํานา +การป้องกันกําจัด +• หลังเก็บเกี่ยวข้าว และเริ่มฤดูใหม่ ควรพลิกไถหน้าดิน เพื่อทําลายเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อรา +สาเหตุโรค +• + +Chunk 33: + กําจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้ํา เพื่อลดโอกาสการฟักตัวและเป็นแหล่งสะสมของ +เชื้อราสาเหตุโรค +• ใช้ชีวภัณฑ์บาซิลลัส ซับทิลิส (เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์) ตามอัตราที่ระบุ +• ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น วาลิดามัยซิน โพรพิโคนาโซล เพนไซคูรอน +(25%ดับบลิวพี) หรืออีดิเฟนฟอส ตามอัตราที่ระบุโดยพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรานี้ในบริเวณที่เริ่มพบ +โรคระบาด ไม่จําเป็นต้องพ่นทั้งแปลง เพราะโรคกาบใบแห้งจะเกิดเป็นหย่อม + +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=116.htm + + + + + +10 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +7. โรคกาบใบเน่า (Sheath Rot Disease) + + โรคกาบใบเน่า ชาวนาบางท้องที่เรียกว่า “ข้าวตายท้องกลม” หรือ “ข้าวแท้ง” เคยพบ +ระบาดรุน แรงเป็นเนื้อที่ติดต่อกันกว่า 3 พันไร่ ในเขตอําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ข้าว +เสียหายไม่ให้รวง มากกว่า 70% ผลผลิตลดลงอย่างน่าใจหาย ปัจจุบันโรคนี้มีแพร่ระบาดเป็นประจํา +โดยเฉพาะในแหล่ง ที่สามารถทํานาได้มากกว่าปีละครั้ง + +พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง สาเหตุ เชื้อรา Sarocladium oryzae Sawada +อาการ ข้าวแสดงอาการในระยะตั้งท้องโดยเกิดแผลสีน้ําตาลดําบน กาบห่อรวง ขนาดแผลประมาณ +2-7 x 4-18 มิลลิเมตร ตรงกลางแผลมีกลุ่มเส้นใยสีขาวอมชมพู แผลนี้จะขยายติดต่อกันทําให้บริเวณ +กาบหุ้มรวงมีสีน้ําตาลดําและรวงข้าวส่วนใหญ่โผล่ไม่พ้นกาบหุ้มรวง หรือโผล่ได้บางส่วน ทําให้เมล็ด +ลีบและมีสีดํา และเชื้อรานี้สามารถอยู่ติดบนเมล็ดได้นาน นอกจากนี้ยังพบว่า “ไรขาว” ซึ่งอาศัยดูด +กินน้ําเลี้ยงต้นข้าวในบริเวณกาบใบด้านในเป็นพาหะช่วยให้การเป็นโรคแพร่ระบาดได้รุนแรงและ +กว้างขวางยิ่งขึ้น + + + ลักษณะอาการโรคกาบใบเน่า แมลงพาหะ "ไรขาว" +การแพร่ระบาด เชื้อรานี้ติดอยู่บนเมล็ดได้นาน นอกจากนี้ พบว่า “ไรขาว” ซึ่งอาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงต้น +ข้าวในบริเวณกาบใบด้านใน สามารถเป็นพาหะช่วยทําให้โรคแพร่ระบาดได้รุนแรง และกว้างขวาง +ยิ่งขึ้น +การป้องกันกําจัด +• ใช้พันธุ์ค่อนข้างต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ เช่น กข27 สําหรับนาลุ่มมีน้ําขัง ใช้พันธุ์ +ข้าวที่ลําต้นสูง แตกกอน้อย +• ใช้สารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ คาร์เบนดาซิม คาร์เบนดาซิม+แมนโคเซบ ไธอะ +เบนดาโซล ตามอัตราที่ระบุ +• ลดจํานวนประชากรไรขาว พาหะแพร่เชื้อ ในช่วงอากาศแห้งแล้ง ด้วยสารป้องกันกําจัดไร +เช่น ไตรไทออน โอไมท์ ตามอัตราที่ระบุ +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=117.htm + + +11 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +8. โรคเมล็ดด่าง (Dirty Panicle Disease) + + โรคเมล็ดด่าง (Dirty Panicle) พบเป็นในระยะข้าวให้รวง-ใกล้เก็บเกี่ยว โรคเมล็ดด่างเป็นโรค +ร้ายแรงโรคหนึ่ง โดยเฉพาะกับข้าวต้นเตี้ยที่ใช้ปุ๋ยสูง พบระบาดแพร่หลายกับข้าวนาปรัง โดยเฉพาะ +กับพันธุ์ กข. 9 เคยพบ ว่าเป็นโรคนี้ติดต่อกันเป็นเนื้อที่กว่าพันไร่ โรคเมล็ดด่าง พบในระยะข้าวออก +รวงจนใกล้เก็บเกี่ยว โรคนี้เป็นโรคที่ทําความเสียหายให้กับข้าวโรคหนึ่ง พบเป็นประจําในทุกฤดู +โดยเฉพาะ ในช่วงที่ข้าวกําลังออกรวงแล้วมี ฝนตก และความชื้นในนาค่อนข้างสูง โรคเมล็ดด่าง จะมี +การ แพร่ระบาดเป็นเนื้อที่กว้างขวางและรุนแรง ซึ่งมี ผลกระทบต่อผลผลิตและคุณภาพขอ + +Chunk 34: +งข้าวเป็น +อย่างมาก +พบมาก ในนาชลประทาน ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ +ภาคใต้ +สาเหตุจากเชื้อราที่แพร่ ในอากาศถึง 6 สกุล ด้วยกัน คือ + 1. Curvularia lunata (Wakk) Boed. 2. Cercospora oryzae I.Miyake + 3. Helminthosporium oryzae Breda de Haan. 4. Fusarium semitectum Berk & Rav. + 5. Trichoconis padwickii Ganguly 6. Sarocladium oryzae + เชื้อราทั้ง 6 สกุล ดังกล่าว จะเข้าทําลายต้นข้าวในระยะ ออกรวงโดยเฉพาะ ช่วงที่ดอกข้าว +ผสมและเป็นน้ํานม แล้ว และในช่วงใกล้เก็บเกี่ยวจะเห็น อาการเมล็ดด่าง ชัดเจน เมล็ดบนรวงข้าวจะ +มีรอยแผลเป็นจุดสีน้ําตาล บางเมล็ดมีลายสีน้ําตาล สีเทา หรือสีชมพูทั้งเมล็ด บางเมล็ดจะลีบทั้งเมล็ด +และมีสีน้ําตาลดํา ทั้งนี้เพราะ เชื้อราแต่ละสกุลจะทําลายเมล็ดให้มีลักษณะผิดปกติ แตกต่างกันไปโรค +เมล็ดด่างพบเสมอทุกฤดูการปลูกข้าว โดยเฉพาะช่วงเมล็ดข้าวเป็นน้ํานม โรคนี้จะ ระบาดเป็นเนื้อที่ +กว้างขวาง และมีผลกระทบต่อผลผลิต ถึง 40 เปอร์เซ็นต์ และสามารถแพร่กระจาย เข้าสู่ ยุ้งฉางได้ +เพราะเชื้อราสามารถติดไปกับเมล็ดพันธุ์ได้ + + + เชื้อราสาเหตุ + + + + + + รวงข้าวถูกโรคเข้าทําลายที่ระบบในแปลงนา เมล็ดข้าวที่ถูกโรคเข้าทําลาย + + +12 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +อาการ ในระยะออกรวง พบแผลเป็นจุดสีน้ําตาลหรือดําที่เมล็ดบนรวงข้าว บางส่วนก็มีลายสีน้ําตาล +ดํา และบางพวกมีสีเทาปนชมพู ทั้งนี้เพราะมีเชื้อราหลายชนิดที่สามารถเข้าทําลายและทําให้เกิด +อาการต่างกันไป การเข้าทําลายของเชื้อรามักจะเกิดในช่วงดอกข้าวเริ่มโผล่จากกาบหุ้มรวงจนถึง +ระยะเมล็ดข้าวเริ่มเป็นน้ํานม และอาการเมล็ดด่าง จะปรากฏเด่นชัดในระยะใกล้เก็บเกี่ยว + + อาการโรคเมล็ดด่าง +การแพร่ระบาด เชื้อราสามารถแพร่กระจายไปกับลม ติดไปกับเมล็ด และสามารถแพร่กระจายใน +ยุ้งฉางได้ +ลักษณะอาการ + เกิดอาการรวงไหม้ทั้งรวงแต่แตกต่างจากโรคไหม้คอรวงตรงที่โรคนี้ ไม่เกิดแผลที่คอรวงและ +คอรวงไม่หักเมล็ดลีบเป็นบางส่วน บนเมล็ดเต็มส่วนใหญ่จะมีแผลเป็นจุดสีน้ําตาล-ดํา บางส่วนก็มีลาย +สีน้ําตาลและบางพวกมีสีเทาหรือสีชมพู ทั้งนี้ เพราะมีเชื้อราหลายชนิดที่สามารถเข้าทําลายและทําให้ +เกิดอาการแตกต่างกันไป การเข้าทําลายของเชื้อรามักจะเกิดในช่วงที่ดอกข้าวผสมแล้วอยู่ในช่วงเป็น +น้ํานมและกําลังจะสุก หลังจากนั้นประมาณ เกือบเดือน (ใกล้เกี่ยว) อาการเมล็ดด่างจะปรากฏเด่นชัด +โรคนี้สามารถแพร่กระจายไปกับลม ติดไปกับเมล็ด และอาจทําให้เชื้อราแพร่กระจายในยุ้งฉางได้ + +การป้องกัน +เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ปลูก ควรคัดเลือกจากแปลงที่ไม่เป็นโรค ข้าวพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น +สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 พิษณุโลก 2 และข้าวเจ้าหอมคลองหลวง 1 ต้องดูแลเป็นพิเศษ +ก่อนหว่านเมล็ดพันธุ์ควรคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น คาร์เบนดาซิม หรือ +แมนโคเซบ ในอัตรา 3 กรัม /เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม +ในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องใกล้ออกรวงเมื่อพบอาการใบจุดสีน้ําตาลที่ใบธงและโรคกาบใบเน่า ถ้ามี +ฝนตกชุก ควรวางมาตรการป้องกันแต่ต้นมือ โดยพ่นสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่น โพรพิโคนาโซล โพ +รพิโคนาโซล + ไดฟีโนโคนาโซล หรือ โพรพิโคนาโซล + โพรคลอราซ หรือ คาร์เบนดาซิม + อีพ๊อกซี่ +โคนาโซล หรือ ฟูซิราซอล หรือ ทีบูโคนาโซล หรือ โ + +Chunk 35: +พรคลอราซ + คาร์เบนดาซิม หรือ แมนโคเซบ + +13 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +หรือ คาร์เบนดาซิม + แมนโคเซบ ตามอัตราที่ระบุ + การป้องกันกําจัด + +1. หลีกเลี่ยงพันธุ์ข้าวที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 60, สุพรรณบุรี 90 และ +กข. 9 เมล็ดพันธุ์ที่ใช้ปลูกควรคัดเลือกจากแปลงที่ไม่เป็นโรค + +2. ก่อนปลูกให้คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกําจัดเชื้อรา เช่นคาร์เบน ดาซิม +(carbendazim) แมน +โคเซบ (mancozeb) ในอัตรา 3 กรัมต่อ เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม + +3. เนื่องจากโรคเมล็ดด่างยังไม่มีพันธุ์ข้าวที่ต้านทานต่อโรคนี้ ดังนั้นช่วง ที่ข้าวกําลังออกรวง +ต้องคอยติดตามดู แลอย่างใกล้ชิดและสม่ําเสมอข้อมูล การตัดสินใจในการ ใช้สารป้องกันกําจัดโรค +พืชถ้าพบ รวงข้าว มีเมล็ดด่างเพียงเล็กน้อย คือ มีเมล็ดด่าง 5 เมล็ดต่อรวง ควรพ่นสารป้องกันกําจัด +โรคสารป้องกันกําจัดโรคพืชที่มี ประสิทธิภาพในการป้องกันและยับยั้ง การแพร่กระจายของโรคได้ +คือ +1. ทิ้ลท์ (Tilt 25% EC.) อัตรา 20 ซีซี. ต่อน้ํา 20 ลิตร +2. โพลีอ็อกซิน (Polyoxin-z 2.2% WP.) อัตรา 30 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร +3. เดลซีน-เอ็มเอ็กซ์ (Delsene MX 80% WP.) อัตรา 30 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร +4. บาวิสติน (Bavistin 50% WP.) อัตรา 10-16 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร +5. ฮิโนซาน (Hinosan 50% EC.) อัตรา 30 ซีซี. ต่อน้ํา 20 ลิตร โดยพ่นในระยะข้าวออกรวงช่วง +ที่ สําคัญ คือ ระยะน้ํานม +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=118.htm + +9. โรคขอบใบแห้ง (Bacterial Leaf Blight Disease or Bacterial Blight Disease) + +พบมาก ในนาน้ําฝน นาชลประทาน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ +สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. + + +ลักษณะของแผลที่ขอบใบ +เชื้อแบคทีเรียที่พบบริเวณแผล + +14 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ + +อาการแห้งตายทั้งต้น (kresek) +ความรุนแรงของโรคในระยะแตกกอ +อาการ โรคนี้เป็นได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ จนถึงฺ ออกรวง ต้นกล้าก่อนนําไปปักดําจะมีจุดเล็กๆ +ลักษณะช้ําที่ขอบใบของใบล่าง ต่อมาประมาณ 7-10 วัน จุดช้ํานี้จะขยายกลายเป็นทางสีเหลืองยาว +ตามใบข้าว ใบที่เป็นโรคจะแห้งเร็ว และสีเขียวจะจางลงเป็นสีเทาๆ อาการในระยะปักดําจะแสดงหลัง +ปักดําแล้วหนึ่งเดือนถึงเดือนครึ่ง ใบที่เป็นโรคขอบใบมีรอยขีดช้ํา ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ที่แผล +มีหยดน้ําสีครีมคล้ายยางสนกลม ๆ ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด ต่อมาจะกลายเป็นสีน้ําตาลและหลุดไป +ตาม น้ําหรือฝน ซึ่งจะทําให้โรคสามารถระบาดต่อไปได้ แผลจะขยายไปตามความยาวของใบ บางครั้ง +ขยายเข้าไปข้างในตามความกว้างของใบ ขอบแผลมีลักษณะเป็นขอบลายหยัก แผลนี้เมื่อนานไปจะ +เปลี่ยนเป็นสีเทา ใบที่เป็นโรค ขอบใบจะแห้งและม้วนตามความยาว ในกรณีที่ต้นข้าวมีความอ่อนแอ +ต่อโรคและเชื้อโรคมีปริมาณมาก จะทําให้ท่อน้ําท่ออาหารอุดตัน ต้นข้าวจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายทั้ง +ต้นโดยรวดเร็ว เรียกอาการของโรคนี้ว่า ครีเสก (kresek) +การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุโรคสามารถแพร่ไปกับน้ํา ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และสภาพที่มี +ฝนตก ลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางรวดเร็ว +การป้องกันกําจัด +• ใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน เช่น พันธุ์สุพรรณบุรี 60 , 90 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 กข7 และ +กข23 +• ในดินที่อุดมสมบูรณ์ไม่ + +Chunk 36: +ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก +• ไม่ควรระบายน้ําจากแปลงที่เป็นโรคไปสู่แปลงอื่น +• ควรเฝ้าระวังการเกิดโรคถ้าปลูกข้าวพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคนี้ เช่น พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 +เหนียวสันป่าตอง พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 เมื่อเริ่มพบอาการของโรคบนใบข้าว ให้ใช้สารป้องกันกําจัด +โรคพืช เช่น ไอโซโพรไทโอเลน คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ เสตร็พโตมัยซินซัลเฟต+ออกซีเตทตราไซคลิน +ไฮโดรคลอร์ไรด์ ไตรเบซิคคอปเปอร์ซัลเฟต +ข้อมูลเพิ่มเติม +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php-file=content.php&id=120.htm +http://www.brrd.in.th/rkb2/enemy_khao/index.php.htm + + + +15 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +10. โรคใบหงิก + + +โรคใบหงิก หรือ โรคจู๋ (Ragged Stunt Virus) โรคใบหงิก พบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2520 ที่ +อ.บางน้ําเปรียว จ. ฉะเชิงเทรา เป็นรุนแรงกับพันธุ์ข้าว กข. 7 พบเนื้อที่เสียหาย ประมาณ 200 ไร่ ใน +ปีต่อมาโรคใบหงิกได้แพร่ ระบาด รุนแรงเพิ่มขึ้นในอีกหลาย จังหวัดในภาคกลางซึ่งเป็นแหล่งปลูก +ข้าวใหญ่ของประเทศ โดยเฉพาะที่อําเภอ ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรี อยุธยา ในปีนั้นพบเนื้อที่ +เสียหายติดต่อกันถึง 1 หมื่นไร่เศษ นอกจากนี้ ยังพบระบาดเสียหายมากในจังหวัดนครปฐม อ่างทอง +สุพรรณบุรี ปทุม ธานี อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี นนทบุรี และกรุงเทพฯ จากการสํารวจ อย่างหยาบ +ๆ เมื่อปี พ.ศ. 2523 พบโรคใบหงิกแพร่ระบาดในเขตภาค กลางประมาณ 2 แสนไร่เศษ และ มี +รายงานว่าจังหวัดนครปฐมเป็น โรคใบหงิกสูงถึงประมาณ 68,750 ไร่ โรคใบหงิก เกิดจากเชื้อไวรัส ไม่ +ติดต่อทางเมล็ด ดิน น้ํา ลม หรือทางสัมผัส มันจะถูกถ่ายทอดหรือ ติดต่อเข้าสู่ต้นข้าวได้ โดยแมลง +ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล เท่านั้น เมื่อแมลงดูดดอมเชื้อไวรัสเข้าสู่ตัวมัน เชื้อไวรัสจะ +ฟักตัวในแมลง นาน ประมาณ 8 วัน โดยเฉลี่ยจึงจะออกฤทธิ์ คือเมื่อแมลงที่อมเชื้อนี้ไปดูด กินต้นข้าว +ดี ก็จะถ่ายทอดเชื้อไวรัสเข้าสู่ต้นข้าว และหลังจากนั้นประมาณ 2 อาทิตย์เป็นอย่างเร็ว จนถึง 1 +เดือน เป็นอย่างช้าต้นข้าวที่ได้รับเชื้อ ก็จะเริ่มแสดงอาการ “โรคใบหงิก” เกิดกับข้าวทุกระยะการ +เจริญเติบโต อาการจะปรากฏหลังจากต้น��้าวได้รับเชื้อแล้ว 15-30 วัน โดยเฉพาะ ต้นข้าวอายุตั้งแต่ +15 ถึง 45 วัน ถ้าได้รับเชื้อโรคใบหงิกแล้ว จะแสดง อาการรุนแรงมาก ส่วนต้นข้าวอายุเกิน 60 วันขึ้น +ไปแม้จะได้รับเชื้อ และ แสดงอาการก็ไม่ค่อยรุนแรงนัก +ลักษณะอาการ + + + + + +อาการของต้นข้าวที่เป็นโรคใบหงิกจะสังเกตได้ง่าย คือ ข้าวต้นเตี้ย (สั้นจู๋) ไม่พุ่งสูง เท่าที่ควร +ใบสีเขียวเข้ม แคบและสั้น ใบใหม่จะแตกช้ากว่าปกติ และเมื่อแตก พุ่ง ขึ้นมาดูไม่ค่อยสมบูรณ์ ปลาย +ใบจะบิดเป็นเกลียว เป็น ลักษณะเด่นที่เรียกว่า โรคใบหงิก นอกจากนี้ ยังสังเกตุเห็นขอบใบแหว่งวิ่น +และเส้นใบบวมโป่งเป็นแนวยาว ทั้งที่ใบและกาบใบ ข้าวเป็นโรคใบหงิกจะออกรวงล่าช้า และให้รวง +ไม่สมบูรณ์ รวงให้เมล็ดลีบเป็นส่วนใหญ่ อย่างที่ชาวนาเรียกว่าไม่มีเนื้อและเมล็ดที่สมบูรณก็มัก จะ +ด่างเสียคุณภาพ เป็นส่วนมาก ข้าวเป็นโรคใบหงิก จะทําให้ผลผลิตลดลง ประมาณ 1/3 ถึง 2/3 และ +ถ้ามี โรคแทรกเข้าซ้ําเติมเช่นโรคเมล็ดด่างและโรคใบขีด สีน้ําตาล ซึ่งทั้งสองโรคนี้มักจะพบเสมอ +กับข้าวที่เป็น โรคใบหงิกอาจทําให้ผลผลิตเสียหายถึง 100% +การป้องกันจํากัด + +1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบ หงิกนี้นอกจากจะมี ฤทธิ์ดํารงชีพอยู่ใน +ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย + +Chunk 37: +เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง + +16 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +เป็นแหล่งอาศัยของ เชื้อ ทําให้ เกิดการแพร่ระบาดข้ามฤดูอย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัด การ +ทําลายแหล่ง พืชอาศัยของ เชื้อเป็นประการแรก คือ เร่งไถกลบหรือเผาทําลาย ตอ ซังในนาข้าว ที่ +เป็นโรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนาสม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ําที่เป็นที่อยู่อาศัย ขยายพันธุ์ +แมลงพาหะ + +2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทานใน แหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ ระบาด โรค +ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่กรมวิชา การเกษตร แนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว +กข 9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติ ต้านทานการดูดกิน ของเพลี้ยกระโดดสีน้���า ตาลได้ +ดีพอสมควร + +3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลซึ่งเป็นแมลงพาหะ หลังจากปฏิบัติ ตามขั้น ตอน +ข้อ1 และ 2 ดีแล้ว ก็อย่าเพิ่งนอนใจ ชาวนาโดยเฉพาะใน แหล่งที่มีโรค ใบหงิก ระบาดรุนแรง ควร +เอาใจใส่ตรวจตรา อย่าให้ เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการ นี้จําเป็นต้องใช้ +สารเคมี เข้า ช่วยด้วยเริ่มใช้ตั้งแต่ ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมีประเภท ดูดซึม ประเภทคาร์โบ ฟูราน หรือ +ประเภทเดียวกันตาม คําแนะนําของ กรมวิชาการเกษตร หว่านในแปลงกล้าอัตรา 5 กก./ไร่ ใส่ก่อน +หว่าน กล้าหรือหลังข้าวงอกแล้ว 3-4 วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอระหว่าง นี้ชาวนา ควรหมั่น +ตรวจดูในแปลงกล้า ว่ามี เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล อยู่ในแปลง บ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบเพียง 2-3 ตัว +ต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่น ทําลายทันที ยาประเภทฆ่าแมลง โดยตรง +นี้ก็มีด้วย กันหลายชนิด ตามคําแนะนํา ของกรมวิชา การเกษตร อาทิเช่น พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง +การค้าหลายชื่อการ ฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 +ครั้ง แล้วแต่จํานวน แมลง ถ้าไม่พบแมลงเลยก็ไม่ +จําเป็น ต้องฉีดพ่น การฉีดพ่น ทิ้งช่วง ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็น อันหมดช่วงป้องกัน 30 วัน แรก +ต่อมาในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียว กันนี้การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ใช้ได้ทั้งในแปลงนาดําและ แปลง +นาหว่านทุกประเภท + +11. โรคดอกกระถิน + + โรคดอกกระถิน (False Smut) ในอดีตชาวนาบางท้องที่จะรู้สึกพึงพอใจมาก +ที่พบเห็น รวงข้าวในนา มีเมล็ดข้าวที่เป็นโรคดอกกระถินขึ้น ประปราย เพราะ +นั้นคือ สัญลักษณ์ของความอุดม สมบูรณ์ ท้องนาให้ผลผลิตดีในปีนั้น นั่นคือ +ข้าวที่เป็น โรค ดอกกระถินไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย แต่ปัจจุบัน เริ่มพบเห็น +แล้วว่า บางท้องที่โดย เฉพาะในเขตภาคใต้ จังหวัดพัทลุง ปัตตานี และนครศรีธรรมราช และเขต +ภาคเหนือ โดยเฉพาะชาวไร่ ในเขตจังหวัดลําปาง, เชียงใหม่ และเชียราย โรคดอกกระถินเป็นโรค +สําคัญ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายค่อนข้างรุนแรงและมีแนว โน้ม ว่าจะแพร่ระบาด เพิ่มเนื้อที่มากขึ้น +เรื่อยๆ + ลักษณะอาการ เริ่มเป็นโรคระยะตั้งท้อง-ออกรวง เชื้อราเข้าทําลายที่ +เมล็ด ข้าว สร้างกลุ่มเส้นใย และสปอร์ปกคลุมเมล็ดข้าว ทําให้เมล็ดข้าว +เสียหาย มีอาการบวมโตคล้ายดอก กระถิน กลุ่มเส้นใยและสปอร์จะพัฒนา +ผนึกแน่น เป็นชั้นๆ เริ่มต้นจะมีสีเหลือง (ชั้นในสุด) ต่อมา จะ เปลี่ยนเป็นสี + +17 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +ส้ม (ชั้นกลาง) และในที่สุดจะเปลี่ยนเป็น สีเขียวเข้ม (ชั้นนอกสุด) ซึ่งจะมีลักษณะเป็นฝุ่น ละอองของ +สปอร์เชื้อรา ปกติจะเกิดเพียง 2-3 เมล็ด ใน 1 รวง ในกรณีรุนแรงอาจพบมากกว่า 100 เมล็ + +Chunk 38: +ด ต่อรวง + +การป้องกันกําจัด + +1. พยายามหลีกเลี่ยงปลูกข้าวในช่วงที่ให้รวงตอนที่มี ฝนชุกหรือความ ชื้นสูง +2. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยยาเคมีก่อนปลูก +3. ใช้ยาเคมีฉีดหรือพ่นก่อนข้าวออกรวง 2-3 วัน ตามคําแนะนําของ นักวิชาการ + + +12. โรคใบสีแสด + + + + + + อาการใบมีสีแสด + + แมลงพาหะ + +สาเหตุ สาเหตุโรคใบสีแสดเกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา +อาการ ลักษณะอาการต้นข้าวที่เป็นโรค จะแสดง อาการใบสีแสดจาก ปลายใบ และเป็นสีแสดทั่วทั้ง +ใบ ยกเว้นเส้นกลางใบ ใบที่เป็นโรคทั้งใบจะม้วนจากขอบ ใบทั้งสองข้างเข้ามาหาเส้นกลางใบและใบ +จะแห้ง ในที่สุด ต้นข้าวที่เป็นโรคจะแตกกอได้น้อยแต่ต้น ข้าวสูงตามปกติ ไม่มีอาการเตี้ย และตาย +อย่างรวดเร็ว โรคใบสีแสดจะเกิดเป็นกอๆ ไม่มีการแพร่กระจาย เป็นบริเวณกว้างเหมือนใบสีส้ม + +การแพร่ระบาด เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยักเป็นแมลงพาหะซึ่งสามารถอาศัยอยู่ตามต้นข้าว และกลุ่ม +ของวัชพืชในตระกูลหญ้าชนิด ต่างๆ + +การป้องกันกําจัด เนื่องจากยังไม่มีพันธุ์ต้านทานจึงต้องใช้วิธีป้องกัน กําจัดแมลงพาหะ และพืชอาศัย +1. กําจัดวัชพืช และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสและแมลง พาหนะนําโรค +2. ใช้ยาฆ่าแมลงพาหะ เช่น ยาดูดซึม ฟูราดาน, คูราแทร์ หรือมิปซิน หรือประเภทยาฉีดพ่น เช่น +เซฟวิน 85, มิปซิน, หรือยาออกฤทธิ์ปราบ เพลี้ยจั๊กจั่น ตามคําแนะนําของนักวิชาการ ตามอัตราและ +ระยะเวลา ใช้ ที่เหมาะสม + + +18 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +13. โรคเขียวเตี้ย + + + + + อาการต้นเตี้ย เป็นพุ่มแจ้ + + แมลงพาหะของ +โรค + +สาเหต +ุ เชื้อไวรัส Grassy Stunt Virus +อาการ ต้นเตี้ยแคระแกรนเป็นพุ่มแจ้ แตกกอมาก ใบแคบมีสีเหลือง เหลืองอมเขียวถึงเหลืองอ่อน +พบว่า ที่ใบมีจุดประสีเหลืองอ่อนจนถึง น้ําตาลอ่อน บางครั้ง พบว่า ระหว่างเส้นใบเป็นแถบสีเขียว +เหลืองขนาน ไปกับเส้นกลางใบ ต้นข้าวที่เป็นโรคมักจะไม่ออกรวง หรือรวงลีบบาง ครั้งอาจพบโรคนี้ +เกิดร่วมกับโรค ใบหงิก แต่ไม่พบการะบาดของโรค กว้างขวางเหมือน โรคใบหงิก +การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุ(ไวรัส) มีเพรลี้ยกระโดด สีน้ําตาลเป็นแมลง พาหะ +การป้องกันกําจัด + +1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรค ใบหงิกนี้นอกจากจะมี ฤทธิ์ดํารงชีพอยู่ใน +ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง +เป็นแหล่งอาศัย ของเชื้อ ทําให้เกิดการแพร่ระบาดข้ามฤดูอย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัด +การทําลายแหล่งพืชอาศัยของ เชื้อเป็นประการแรกคือ เร่งไถกลบหรือเผาทําลาย ตอซัง ในนาข้าวที่ +เป็นโรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนา สม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ํา ที่เป็นที่อยู่ อาศัยขยายพันธุ์ +แมลงพาหะ + +2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน ในแหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ ระบาด โรค +ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่ กรมวิชาการ เกษตร แนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว +กข 9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติ ต้านทานการดูดกินของ เพลี้ยกระโดดสีน้ํา ตาลได้ +ดีพอสมควร + +3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล (แมลงพาหะ) หลังจากปฏิบัติ ตามขั้น ตอนข้อ1 +และ 2 ดีแล้ว ก็อย่าเพิ่งนอนใจ ชาวนาโดยเฉพาะใน แหล่ง ที่มีโรคใบหงิก ระบาดรุนแรง ควรเอาใจใส่ + +19 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +ตรวจตรา อย + +Chunk 39: +่าให้เพลี้ย กระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการ นี้จําเป็นต้องใช้ สารเคมี +เข้า ช่วยด้วย เริ่มใช้ ตั้งแต่ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมีประเภท ดูดซึม ประเภท คาร์โบฟูราน หรือ +ประเภทเดียวกันตาม คําแนะนํา ของกรมวิชาการเกษตร หว่านในแปลงกล้า อ���ตรา 5 กก./ไร่ ใส่ก่อน +หว่าน กล้าหรือหลังข้าวงอกแล้ว 3-4 วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอระหว่าง นี้ชาวนา ควรหมั่น +ตรวจดู ในแปลงกล้า ว่ามี เพลี้ย กระโดด สีน้ําตาลอยู่ในแปลง บ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบเพียง 2-3 ตัว +ต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่น ทําลายทันที ยาประเภทฆ่าแมลงโดยตรง +นี้ก็มีด้วย กันหลายชนิด ตามคําแนะนํา ของกรมวิชา การเกษตร อาทิเช่น พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง +การค้า หลายชื่อ การฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 ครั้ง แล้วแต่ จํานวน แมลง ถ้าไม่พบแมลงเลยก็ไม่ +จําเป็น ต้องฉีด พ่น การฉีดพ่นทิ้งช่วง ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็น อันหมดช่วงป้องกัน 30 วัน แรก +ต่อมาในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียวกันนี้การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ ใช้ได้ทั้งใน แปลง นาดําและ +แปลงนาหว่านทุกประเภท +14. โรคหูด + + + + + + แมลงพาหะ + เชื้อไวรัสสาเหต +ุ +โรคหูด (Gall Dwarf Virus) เป็นโรคที่แสดงอาการคล้ายคลึงโรคใบหงิก เกิดจากเชื้อไวรัสถ่ายทอด +โดยแมลงเพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เป็นโรค ข้าวใหม่ที่มี รายงาน ในโลก พบครั้งแรกปี พ.ศ. 2522 ที่ +เขตจังหวัด อุทัยธานีต่อมา สํารวจพบโรค มีแพร่ระบาดในหลายจังหวัด เช่น ชัยนาท กรุงเทพฯ +สุโขทัย ฉะเชิงเทรา ปทุมธานี นครปฐม นครสวรรค์ อยุธยา และสิงห์บุรี +ลักษณะอาการ + +ข้าวมีต้นเตี้ย แคระแกรน ใบมีสีเขียวเข้มและสั้นกว่า ปกติ ที่บริเวณหลัง และกาบใบจะ +ปรากฎปุ่มปมขนาด เล็ก สีเขียวซีด หรือขาสใสลักษณะคล้าย เม็ดหูดเม็ด หูดนี้ก็คือ เส้นใบที่บวมปูด +ออกมานั่นเองพบว่าเม็ดหูด จะ ปรากฏเด่นชัด และมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นเมื่อต้นข้าว แสดงอาการ +รุนแรง มากขึ้น ต้นข้าวเป็นโรคจะแตกกอ น้อยลง ข้าวให้รวงไม่สมบูรณ์ และมี เพียง 2-3 รวงต่อกอ +แม้ว่าโรคนี้ ไม่สามารถถ่ายทอดผ่านทาง เมล็ด ไม่ติดไปกับดิน หรือโดยการสัมผัส มีเพียงแมลง เพลี้ย +จั๊กจั่นปีกลายหยัก และเพลี้ยจั๊กจั่นสีเขียวเป็น พาหะก็ตามเนื่องจากว่าแมลง ดังกล่าวนี้พบเห็น +ประจํา และมีจํานวนมากบางฤดูกาล โอกาสที่โรคหูดจะแพร่ ระบาดก่อให้ เกิดความเสียหายระดับ +เดียวกับโรคใบ หงิกย่อมเป็นไปได้ +การป้องกันจํากัด + +1. กําจัดหรือทําลายเชื้อไวรัส เชื้อไวรัสสาเหตุโรคใบห��ิกนี้ นอกจากจะมีฤทธิ์ ดํารงชีพอยู่ใน +ตัวแมลงแล้ว ยังแพร่ขยายปริมาณอยู่ตามตอซังข้าว และพืชอาศัย เช่น ข้าวป่าและหญ้าบางชนิดซึ่ง +เป็นแหล่งอาศัยของ เชื้อ ทําให้เกิดการแพร่ระบาด ข้ามฤดู อย่างต่อเนื่อง จึงอยากแนะนําให้จัดการ + +20 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +ทําลายแหล่งพืชอาศัยของเชื้อ เป็นประการแรก คือเร่งไถกลบหรือเผาทําลายตอซัง ในนาข้าวที่เป็น +โรค ดูแลกําจัดวัชพืชในนาสม่ําเสมอ โดยเฉพาะวัชพืชใกล้แหล่งน้ําที่เป็นที่อยู่อาศัยขยาย พันธุ์แมลง +พาหะ + +2. ป้องกันข้าวติดเชื้อโดยใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน ในแหล่งที่เคยมีประวัติ การแพร่ระบาด โรค +ใบหงิก มาก่อน ชาวนาควรใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานที่กรม วิชาการเกษตรแนะนํา ปัจจุบันก็มีพันธุ์ข้าว กข +9, กข 21, กข 23 และ กข 25 ซึ่งมีคุณสมบัติต้านทานการดูด กินของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ได้ดี +พอสมควร + +3. ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล(แมลงพาหะ) หลังจ + +Chunk 40: +ากปฏิบัติ ตามขั้นตอน +ข้อสังเกตุ ตามคําแนะนํา ข้อ 1 และ 2 ดีแล้ว แต่กสิกร โดยเฉพาะใน แหล่งที่มีโรค ใบหงิก ระบาด +รุนแรง ควรเอาใจใส่ตรวจตรา อย่าให้เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล นําเชื้อเข้าสู่ แปลงนาได้ วิธีการนี้ +จําเป็นต้อง ใช้สาร เคมี เข้าช่วยด้วย เริ่มใช้ตั้งแต่ระยะกล้า โดยใช้ยาเคมี ประเภทดูดซึม ประเภท +คาร์โบฟูราน หรือประเภท เดียวกันตาม คําแนะนํา กรมวิชาการเกษตรหว่านใน แปลงกล้าอัตรา 5 +กก./ไร่ ใส่ก่อนหว่านกล้าหรือหลัง ข้าวงอกแล้ว 3-4 +วันก็ได้ เพียงครั้งเดียวก็เพียงพอ ระหว่างนี้ +ชาวนาควรหมั่นตรวจดู ในแปลงกล้าว่ามี เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลอยู่ในแปลงบ้างหรือไม่ ถ้าหาก พบ +เพียง 2-3 ตัวต่อต้น ในเนื้อที่แปลง 1 ตารางเมตร ก็จงรีบใช้ยาฆ่า แมลงฉีดพ่นทําลายทันที ยา +ประเภท ฆ่าแมลงโดยตรง นี้ก็มีด้วย กันหลาย ชนิดตามคํา แนะนําของกรมวิชาการเกษตร อาทิเช่น +พวก MIPC ซึ่งมีชื่อ ทาง การค้าหลายชื่อ การฉีดพ่นยานี้ประมาณ 1-3 ครั้ง แล้วแต่จํานวน แมลง ถ้า +ไม่พบแมลงเลย ก็ไม่จําเป็นต้องฉีดพ่น การฉีดพ่นควรกระทํา ประมาณ 7 วันครั้ง ก็เป็นอันหมดช่วง +ป้องกัน 30 วันแรก ต่อมา ในช่วง 30 วันหลังก็ปฏิบัติเช่นเดียวกันนี้ การปฏิบัติ ดังกล่าวนี้ใช้ได้ทั้งใน +แปลง นาดํา และแปลงนาหว่าน ทุกประเภท + +15. โรคใบแถบแดง (Red Stripe) + + + + อาการแผลเป็นแถบ ตามแนวเส้นใบ อาการแผลแถบ +สาเหตุสาเหตุของโรคมีรายงานครั้งแรกว่าเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย แต่พบ ว่ายังไม่สามารถพิสูจน์ +สาเหตุของ การเกิดโรค +อาการ ลักษณะอาการที่สําคัญของโรคเริ่มแรกจะเป็น จุดสีเหลืองแผล เป็น รูปกลมหรือรูปไข่ +จากนั้นจะขยาย จากจุดที่เริ่มลุกลามขึ้นไปทางปลายใบโดยเป็นแถบตาม เส้นใบ สีของแผลจะ + +21 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +เพิ่มขึ้นๆ เป็นสีเหลืองส้ม บางครั้ง แผลจะมีสีเข้ม แผลที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นจะเป็นสีเทา +และเมื่อรุนแรงจะแห้งทั้ง ใบ + +การแพร่ระบาด สามารถถ่ายทอดได้โดยวิธีการสัมผัสและส่วนแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุ สามารถ +เคลื่อนย้ายไปกับลมได้ (air borne) แต่ยังไม่มีการยืนยันใน รายละเอียดของ สาเหตุที่แท้จริงได้ + +การป้องกันกําจัด จากการทดลองยังไม่สามารถสรุปได้ว่าเกิดจากสาเหตุ ใดจึงยังไม่สามารถให้ +คําแนะนําได้จนกว่าจะสามารถ พบเชื้อสาเหตุ + + + +16. โรคใบขีดโปร่งแสง + + +โรคใบขีดโปร่งแสง (Bacterical Leaf Streak) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคที่เกิดขึ้นได้ใน +ทุกภาค ของประเทศ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีฝนตกชุกความ ชื้นสูง + + + + +อาการใบขีดโปร่งแสง มองเห็นชัดเมื่อให้แสงผ่านใบ +อาการเมื่อมองใกล้ +เชื้อแบคทีเรีย สาเหตุ + + +ลักษณะอาการ +อาการปรากฏที่ใบ ขั้นแรกเห็นเป็นขีด ช้ํายาว ไปตาม เส้นใบ ต่อมาค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสี +เหลือง หรือส้มและเมื่อแผลขยายรวมกันก็จะเป็นแผลใหญ่ แสงสามารถทะลุผ่านได้ ส่วนความยาว +ของแผลขึ้นอยู่ กับความต้านทานของพันธุ์ข้าวและความรุนแรงของเชื้อแต่ละท้องที่ในพันธุ์ที่ไม่มี +ความต้านทานเลยแผลจะขยายไปถึงกาบใบด้วยลักษณะของแผลจะคล้ายคลึงกับเกิดบนใบ ส่วนใน +พันธุ์ต้านทานจํานวนแผลจะน้อย และแผลจะไม่ค่อยขยายตามยาวรอบๆ แผลจะมีสีน้ําตาลดํา ต้น +ข้าวที่เป็นโรคนี้มักถูกหนอนกระทู้ หนอนม้วนใบและแมลงดําหนามเข้าทําลายซ้ําเติม ในสภาพที่มีฝน +ตก ลมพัดแรงจะช่วยให้โรคแพร่ ระบาดอย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว และถ้าสภาวะ แวดล้อมไม่สู้ +เหมาะสมต่อเชื้อโรคข้าวที่แตกใบใหม่ อาจไม่แสดงอาการโรคเลย +การป้องกันกําจัด + +1. ในที่ด + +Chunk 41: +ินอุดมสมบูรณ์ ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก ข้าวหนาและอย่าให้ระดับน้ําในนา +สูงเกินควร + +2. ใช้ยาเคมีตามกรรมวิธีการป้องกันกําจัดโรคของใบแห้ง + + +22 + +เอกสารส่งเสริมเผยแพร่ "โรคข้าว และการป้องกันกําจัด" จัดทําโดย: สํานักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ +17. โรคลําต้นเน่า (Stem Rot Disease) + +พบมาก ใน นาน้ําฝน และ นาชลประทาน ใน ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ +ภาคใต้ +สาเหตุ เชื้อรา Sclerotium oryzae Catt. +อาการ เริ่มพบอาการได้ในระยะต้นข้าวก่อนออกรวงหรือหลังออกรวงแล้ว โดยจะพบแผลเป็นจุดสี +น้ําตาลดําใกล้ระดับน้ําและแผลจะขยายใหญ่ขึ้นและลงตามกาบใบของต้นข้าว และในขณะเดียวกัน +ภายในลําต้นก็จะมีแผลมีลักษณะเป็นขีดสีน้ําตาล เมื่อต้นข้าวเป็นโรครุนแรง ใบล่างของต้นข้าว +เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ส่วนของกาบใบและลําต้นจะเน่า ต้นข้าวล้มง่ายและเมื่อดึงต้นข้าวก็จะหลุดออก +จากกอได้ง่าย ต้นข้าวจะตายก่อนออกรวง แต่ถ้ามีการระบาดของโรคไม่รุนแรงหรือโรคเกิดขึ้นใน +ระยะต้นข้าวหลังออกรวงแล้ว จะมีผลทําให้ผลผลิตของข้าวลดลงได้ และเมื่อต้นข้าวเป็นโรคและแห้ง +ตายก็จะพบเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราสาเหตุของโรคมีสีดําฝังอยู่ในเนื้อเยื่อของกาบใบและตามปล้อง +ของต้นข้าว เม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราสาเหตุของโรคสามารถตกค้างอยู่บนตอซังข้าวและในดินได้เป็น +ระยะเวลานาน + +อาการที่โคนต้นข้าว +อาการรุนแรงข้าวแห้งตาย +การแพร่ระบาด + เนื่องจากเชื้อราสาเหตุจะสร้างเม็ดขยายพันธุ์ที่ตกค้างอยู่ในตอซังข้าวและดิน ในขณะเดียวกัน +ก็สามารถลอยอยู่บนผิวน้ําและแพร่กระจายไปกับน้ําในนาข้าวได้เช่นกัน +การป้องกันกําจัด +• เลือกปลูกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงในแปลงที่เป็นโรค +• หลังเก็บเกี่ยวข้าวและเริ่มฤดูใหม่ควรพลิกไถหน้าดิน เพื่อทําลายเม็ดขยายพันธุ์ของเชื้อราเก็บ +ทําลายซากพืชที่เป็��โรคออกจากแปลง +• หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ําเสมอ เมื่อเริ่มพบโรคพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น พีซีเอ็นบี +คาร์บ๊อกซิน วาลิดามัยซิน + + + +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : +กรณีศึกษา การแก้ปัญหาข้าว + และชาวนาอย่างยั่งยืน + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + + +ข้าวถือเป็นผลผลิตทางการเกษตรหลักของประเทศ ในขณะที่ชาวนาถือเป็น +กระดูกสันหลังของชาติ แต่กลับพบว่าทั้งข้าวและชาวนาต้องเผชิญกับวงจรปัญหา +ไม่จบสิ้น ทั้งข้าวราคาตกตĞ่ำ ผลผลิตที่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน สภาวะหนี้สิน โดยรัฐบาล +ได้พยายามมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าวในทุกยุคทุกสมัย ทั้งนี้ +จากราคาข้าวที่ตĞ่ำลงมากเมื่อปี 2559 ทĞำให้รัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา +นายกรัฐมนตรี ได้มีแนวทางการแก้ปัญหาให้กับชาวนาไทย ทั้งมาตรการเฉพาะหน้า +และมาตรการยั่งยืน โดยได้น้อมนĞำ “ศาสตร์พระราชา” อันเป็นหนึ่งในหลักการ +ทรงงาน คือ “การศึกษาอย่างเป็นระบบ” มาเป็นแนวคิดในการวางมาตรการ +แก้ปัญหาอย่างครบวงจร โดยแบ่งออกเป็นมาตรการระยะสั้นหรือมาตรการ +เฉพาะหน้าเพื่อเยียวยาความเดือดร้อน เช่น โครงการสินเชื่อชะลอ +การขายข้าวเปลือกนาปี การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวให้แก่เกษตรกรรายย่อย และ +มาตรการระยะยาวหรือ มาตรการยั่งยืน เช่น โครงการนาแปลงใหญ่ การปรับ +โครงสร้างการปลูกและผลิตข้าวครบวงจร เป็นต้น แต่ทั้งนี้ในหลายมาตรการ +ที่นĞำมาใช้นั้นใช้ระยะเวลาและมีองค์ประกอบอื่นจĞำนวนมาก จึงควรมีการศึกษา +เพิ่มเติมเพื่อให้ได้มาตรการ/ แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ในฐานะหน่วยงาน +คลังสมองของกองท + +Chunk 42: +ัพไทยถือเป็นกลไกหนึ่งของกองทัพที่มีหน้าที่ครอบคลุมไปถึง +การตอบสนองและสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในทุกๆ ด้าน จึงได้จัดทĞำเอกสาร +วิชาการ (working paper) เพื่อทĞำการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทย +ในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนา +อย่างยั่งยืน” โดยการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเสนอ +แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืนต่อไป + + + + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ + + + + +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + + + + +กรกฎาคม 2560 +คำ�นำ� +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + + + + + +หน้า +ส่วนที่ 1 บทนĞำ +1 + +1.1 ความเป็นมาและความสĞำคัญของปัญหา +1 + +1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา +7 + +1.3 วิธีการดĞำเนินการศึกษา +8 + +1.4 ขอบเขตของการศึกษา +9 + +1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา +9 + +1.6 ระยะเวลาดĞำเนินงาน +10 +ส่วนที่ 2 สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าว +11 + +และชาวนาไทย + +2.1 ภาพรวมสถานการณ์ข้าวไทย +11 + +2.2 มาตรการในการแก้ไขปัญหาข้าวและชาวนาของรัฐบาล 16 + + +พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา + +2.3 ปัญหาและอุปสรรคสĞำคัญของการผลิตข้าว +27 + + +และความยากจนของชาวนาไทย + + +(1) ต้นทุนในการผลิตสูง +27 + + +(2) ผลผลิตต่อไร่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน +30 + + +(3) ราคาข้าวมีความผันผวนในตลาดโลก +34 + + +(4) ปริมาณผลผลิตเกินความต้องการของตลาด +41 + + +(5) ชาวนาและองค์กรชาวนายังไม่เข้มแข็ง +47 +ส่วนที่ 3 แนวทางการแก้ปัญหาการผลิตข้าวและความยากจน +53 + +ของชาวนาไทย +ส่วนที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอเพิ่มเติม +65 + +4.1 สรุปผลการศึกษา +65 + +4.2 ข้อเสนอเพิ่มเติม +74 +ภาคผนวก ผนวก ก สรุปผลการสนทนาปัญหายุทธศาสตร์ครั้งที่ 1/60 81 + +เรื่อง “แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” + +ผนวก ข รายงานการเดินทางเพื่อเก็บข้อมูลสĞำหรับงานวิจัย 95 +สารบัญ +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + +ญ + สารบัญภาพ +ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทย +10 + +ในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการ + +แก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” +ภาพที่ 2 แผนที่แสดงพื้นที่การปลูกข้าวตามกลุ่มพันธุ์ต่างๆ +12 +ภาพที่ 3 ภาพผลประโยชน์ที่ชาวนาได้รับจากมาตรการช่วยเหลือ +17 + +ของรัฐบาล +ภาพที่ 4 ผลประโยชน์ชาวนาที่ไม่ได้ร่วมโครงการชะลอ +19 + +การขายข้าวเปลือกของรัฐบาล +ภาพที่ 5 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว +22 + +และรักษาเสถียรภาพราคาข้าว + ปีการผลิต 2559/60 +ภาพที่ 6 แสดงต้นทุนการผลิตข้าวนาปี +28 +ภาพที่ 7 แสดงราคาข้าวที่ลดลงและมีความผันผวน +35 +ภาพที่ 8 แสดงต้นทุนการผลิตของไทยสูงขึ้นแ��ะสูงกว่าคู่แข่ง +41 +ภาพที่ 9 แสดงปริมาณการบริโภคข้าวทั่วโลกที่มีแนวโน้มลดลง +43 + +แต่ผลผลิตข้าวจะเพิ่มขึ้น +ภาพที่ 10 กระบวนการจĞำนĞำข้าวแบบใบประทวนและแบบจĞำนĞำยุ้งฉาง 45 +ภาพที่ 11 ข้อดีของโครงการรับจĞำนĞำข้าว +46 +ภาพที่ 12 แนวโน้มเกษตรกรสูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น +48 +ภาพที่ 13 วัฏจักรปัญหาชาวนาไทย +50 +ภาพที่ 14 สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหาข้าวทั้งวงจรการเพาะปลูก +73 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + +สารบัญตาราง +ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวนาปีและข้าวนาปรัง (2553-2560) +11 +ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลผลผลิตข้าวนาปี : ผลพยากรณ์การผลิตปี 2559 +32 + +(ปีเพาะปลูก2559/60) +ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลผลผลิตข้าวนาปรัง : ผลพยากรณ์การผลิต ปี 2559 33 + (ปีเพาะปลูก 2558/59) +ตารางที่ 4 ปริมาณผลผลิตข้าวนาปีจากการเก็บเกี่ยวป + +Chunk 43: +ี 2559/60 +36 +ตารางที่ 5 ผลผลิตข้าวช่วงปี 2556/57-2558/59 +37 +ตารางที่ 6 ราคาส่งออกข้าวเปรียบเทียบระหว่างปี 2011 - 2016 +39 +ตารางที่ 7 สรุปปัญหาและการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทย +69 +ตารางที่ 8 สรุปผลการวิเคราะห์ปัญหาข้าวทั้งวงจรการเพาะปลูก +71 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ + +1 +1.1 ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา + +“.. ข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปีประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ข้าวจะไม่พอ +ถ้าลดการปลูกข้าวไปเรื่อย ๆ ข้าวจะไม่พอ เราจะต้องซื้อข้าวจากต่างประเทศ +เรื่องอะไร ประชาชนคนไทยไม่ยอม คนไทยนี้ต้องมีข้าว แม้ข้าวที่ปลูกในเมืองไทย +จะสู้ข้าวที่ปลูกในต่างประเทศไม่ได้ เราก็ต้องปลูก..” ใจความตอนหนึ่งของ +พระราชดĞำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งเสด็จ +พระราชดĞำเนินทอดพระเนตรโครงการพระราชดĞำริ ที่บ้านโคกกูแว จังหวัด +นราธิวาส เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2536 + +“...ไม่จĞำเป็นต้องส่งเสริมผลผลิตให้ได้ปริมาณสูงสุดแต่เพียงอย่างเดียว + +เพราะเป็นการสิ้นเปลืองค่าโสหุ้ย และทĞำลายคุณภาพดิน แต่ควรศึกษาสภาวะ +การตลาดการเกษตร ตลอดจนการควบคุมราคาผลิตผลไม่ให้ ประชาชนได้รับ +ความเดือนร้อน...” ใจความตอนหนึ่งของพระราชดĞำรัสในพระบาทสมเด็จ +พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในวโรกาสเสด็จพระราชดĞำเนิน��ปทรงดนตรี +ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 25141 + +พระราชดĞำรัสข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความห่วงใยเรื่องผลผลิตของข้าวและ +ชาวนาที่จะละทิ้งไม่ทĞำการเพาะปลูกข้าว รวมทั้งจะมุ่งเน้นเพียงแต่ปริมาณ +ในการปลูก ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตในระยะยาวได้ + +ข้าวและชาวนาเป็นสิ่งที่อยู่คู่สังคมไทยมาเป็นระยะเวลานาน ข้าวถือเป็น +ผลผลิตทางการเกษตรหลักของประเทศ ซึ่งประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าว +1 มูลนิธิข้าวไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. เข้าถึงจาก http://www.thairice.org/html/culture/ +culture04_1.html เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน +ส่วนที่ 1 +บทนำ� + +2 +ประมาณ 64.57 ล้านไร่2 ในขณะที่มีจĞำนวนชาวนาอันเป็นกระดูกสันหลัง +ของชาติ ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน3 ทั้งนี้ + +จากการสĞำรวจภาวะเศรษฐกิจภาคเกษตรกร โดยสĞำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร +พบว่าเกษตรกรจĞำนวน 6.6 ล้านครัวเรือน ชาวนามีรายได้ตĞ่ำสุดเมื่อเทียบกับ +ภาคเกษตรอื่นๆ4 ขณะที่พืชเศรษฐกิจอื่นๆ มีอัตราการเพาะปลูกที่น้อยมาก +อาทิ ยางพารามีเพียง 1.6 ล้านครัวเรือน มันสĞำปะหลัง 0.5 ล้านครัวเรือน ข้าวโพด +เลี้ยงสัตว์ 0.4 ล้านครัวเรือน อ้อยโรงงาน 0.3 ล้านครัวเรือน และปาล์มนĞ้ำมัน +0.1 ล้านครัวเรือน ในทางตรงข้าม หากพิจารณาผลตอบแทนที่ได้รับกลับ +สวนทางผลผลิต โดยเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มนĞ้ำมันมีรายได้สุทธิสูงที่สุดถึง 5,768 +บาท/ไร่/ปี ถัดมา คือ เกษตรกรปลูกอ้อยโรงงานมีรายได้สุทธิ 5,708 บาท/ไร่/ปี +และเกษตรกรปลูกยางพารามีรายได้สุทธิ 5,128 บาท/ไร่/ปี ในขณะที่ผู้ปลูก +ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เกษตรกรมีรายได้สุทธิ 1,961 บาท/ไร่/ปี ท้ายสุด คือ +มันสĞำปะหลังทĞำรายได้สุทธิ 1,045 บาท/ไร่/ปี เมื่อหันกลับมาดูที่รายได้สุทธิจาก +การปลูกข้าวที่ชาวนาไทยได้รับเพียง 271 บาท/ไร่/ปี ทĞำให้ชาวนาใน 56 จังหวัด +ที่เพาะปลูกข้าว หรือ 75% ของพื้นที่เพาะปลูกข้าว มีรายได้ต่อปีตĞ่ำกว่าเส้น +ความยากจนของประเทศที่ 29,064 บาท/ปี มีเพียงชาวนาใน 21 จังหวัดหรือ +ประมาณ 25% ที่มีรายได้ต่อปีมากกว่าเส้ + +Chunk 44: +นความยากจน5 +2 อรวรรณ ศรีโสมพันธ์. โครงส��้างการผลิตและการตลาดข้าวหอมมะลิไทย. กองทุนสนับสนุน +การวิจัย. 2556 +3 วันข้าวและชาวนาแห่งชาติ ปี 2559. เข้าถึงจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/ +rosekia/2016/06/01/entry-1 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +4 สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดจีดีพีเกษตรปี59พลิกโต สวนทางรายได้ชาวนาไทยจนสุด. เข้าถึง +จาก http://www.thansettakij.com/2016/02/01/28930 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +5 “ยุทธศาสตร์ข้าว” ฉบับหอการค้ายกระดับ“ชาวนาไทย”ขึ้นชั้นเกษตรยุคใหม่. เข้าถึงจาก http:// +www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=12216 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +3 + +นอกจากนี้ ทั้งข้าวและชาวนาต้องติดอยู่ในวงจรปัญหา ราคาข้าวตกตĞ่ำ +ผลผลิตที่ตĞ่ำกว่ามาตรฐาน สภาวะหนี้สิน และความยากจนซĞ้ำซาก โดยปัญหา +เรื่องข้าวและชาวนาเป็นปัญหาที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน ซึ่งปัจจุบันข้าวมีราคา +ตĞ่ำลงร้อยละ 13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว จากการสĞำรวจราคา +ข้าวเปลือกในแต่ละจังหวัดของสมาคมโรงสีข้าวไทย พบว่าราคาข้าวเปลือก +หอมมะลิและข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลง โดยข้าวเปลือกหอมมะลิฤดูกาล +ผลิตปี 2559/60 ที่ผลผลิตเริ่มทยอยออกมาแล้วในบางจังหวัด ปรับตัวลดลง +ถึง 1,000 บาทต่อตัน ซึ่งราคา ณ วันที่ 26 ต.ค.59 ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น +15% จ.บุรีรัมย์ ราคาอยู่ 9,000 บาทต่อตัน ลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. 59 ที่มีราคา +10,000 บาทต่อตัน ส่วนที่ จ.นครราชสีมา ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น 30% +วันที่ 26 ต.ค. ราคาอยู่ที่ 6,800-7,000 บาท/ตัน ขณะที่ราคา ณ วันที่ 19 ต.ค. +ที่ความชื้น 15% อยู่ที่ 9,800-10,000 บาทต่อตัน สĞำหรับราคาข้าวเปลือกเจ้า +5% ได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน โดยราคา ณ วันที่ 26 ต.ค. ข้าวเปลือกเจ้า 5% +ความชื้น 15% ที่ จ.สุพรรณบุรี ราคา 7,400-7,700 บาทต่อตัน ปรับลดลง +จากวันที่ 19 ต.ค. ที่มีราคา 8,700 บาทต่อตัน หรือลดลง 1,000 บาทต่อตัน +เช่นเดียวกัน ในขณะที่ ราคาซื้อขายข้าวล่วงหน้า ณ เดือน ธ.ค.59 โดยเป็นราคา +ที่ผู้ส่งออกซื้อข้าวสารหอมมะลิจากผู้ประกอบการโรงสี จะอยู่ที่ 15,800 บาท +ต่อตัน หรือ 15.80 บาท/กิโลกรัม (กก.) เมื่อทอนเป็นราคาข้าวเปลือกหอมมะลิ +จะอยู่ที่ 8,000 กว่าบาทต่อตัน เนื่องจากราคาส่งออกข้าวหอมมะลิที่ซื้อขาย +ล่วงหน้าตĞ่ำกว่า 500 เหรียญสหรัฐต่อตันแล้ว หรืออยู่ที่ประมาณ 490 +เหรียญสหรัฐต่อตัน ถือว่าเป็นราคาตĞ่ำสุดมากกว่า 10 ปีขึ้นไป เนื่องจากตลาด +เกิดภาวะตื่นตระหนกจากผลผลิตข้าวที่เพิ่มมากขึ้นเกือบทุกประเทศ ทĞำให้ +มีการกดราคาซื้อข้าว6 ราคาข้าวที่ตกตĞ่ำลงอย่างมากนั้นอาจเนื่องมาจากการ +6 ราคาข้าวตกต่ำ�ในรอบ 10 ปี จุดอ่อนของ”ประยุทธ์”ยังแก้ไม่ตก. เข้าถึงจาก http://www. +manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9590000108553 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +4 +ได้รับแรงกดดันทั้งจากปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศ อาทิ การกĞำหนดราคา +ล่วงหน้าที่เป็นตัวกĞำหนดราคาข้าวเปลือกที่จะรับซื้อจากเกษตรกรตามกลไก +การเก็งกĞำไรในตลาด ปริมาณผลผลิตที่มากเกินความต้องการของตลาด +ซึ่งอุปทานข้าวเพิ่มขึ้นจากการขยายพื้นที่ปลูกข้าวมากขึ้น ทĞำให้ปริมาณ +ข้าวที่ออกสู่ตลาดจึงมากขึ้น ในขณะที่อุปสงค์มีแนวโน้มลดลงจากการที่คนไทย +บริโภคข้าวลดล + +Chunk 45: +ง และการส่งออกข้าวลดลง ทĞำให้ความต้องการของผู้บริโภค +มีแนวโน้มที่ลดลงด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ยังเกิดจากการที่ข้าวเก่าค้างสต็อก +อยู่ในเกณฑ์ที่สูงเป็นประวัติการณ์ รวมถึงการถูกกดราคาจากพ่อค้า คนกลาง +มีต้นทุนการผลิตที่สูงมีคุณภาพที่ตĞ่ำ มีภัยพิบัติทางธรรมชาติ เป็นต้น รวมทั้ง +ปัญหาการส่งออกที่ต้องเผชิญการแข่งขันอย่างรุนแรงในด้านราคากับเวียดนาม +และอินเดียที่สามารถเพิ่มผลผลิตได้มากขึ้น + +จากข้อมูลของศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย +พบว่าชาวนาไทยมีต้นทุนค่าใช้จ่ายในการทĞำนาสูงที่สุดในกลุ่มประเทศอาเซียน +ที่ 9,763 บาท/ไร่ ขณะที่คู่แข่งอย่างประเทศเวียดนามอยู่ที่ 4,070 บาท/ไร่ +และเมียนมา 7,121 บาท/ไร่ ขณะที่ด้านผลผลิต ชาวนาไทยกลับได้ผลผลิต +ต่อไร่ตĞ่ำกว่าเวียดนามอยู่ที่เพียง 450 กิโลกรัม/ไร่ โดยชาวนาเวียดนามได้ผลิต +900 กิโลกรัม/ไร่ และเมียนมา 420 กิโลกรัม/ไร่ สĞำหรับด้านราคานั้น ในปี 2556 +ที่ผ่านมา ชาวนาไทยสามารถขายข้าวได้ที่ 11,319 บาท/ไร่ เวียดนามขายได้ที่ +7,251 บาท/ไร่ และเมียนมาขายได้ 10,605 บาท/ไ��่ แต่เมื่อหักต้นทุนแล้ว +ชาวนาไทยกลับมีรายได้ตĞ่ำที่สุด หรือมีเงินเหลือในกระเป๋าเพียง 1,555.97 +บาท/ไร่ ตĞ่ำกว่าเวียดนามที่มีเงินเหลือ 3,180 บาท/ไร่ และพม่า 3,484 บาท/ไร่ +และในปีนี้ซึ่งราคาข้าวโลกตกตĞ่ำอยู่ที่ประมาณ 8,000 บาทต่อไร่ หักต้นทุนแล้ว +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +5 +ชาวนาไทยอยู่ในสภาวะขาดทุน7 นอกจากสาเหตุที่ราคาข้าวลดลงนอกจากการ +ลดลงตามราคาสินค้าเกษตรโลกแล้ว ปัจจัยภายในส่วนหนึ่งเกิดจากราคาข้าว +ที่ราคาตกตĞ่ำในช่วงปลายปี พ.ศ.2559 อาจอธิบายได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก +ข้าวคงคลังที่ยังเหลืออยู่จากนโยบายจĞำนĞำข้าวของรัฐบาลที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิด +ปัญหาที่ข้าวชุดใหม่ไม่สามารถเข้าสู่ระบบตลาดในราคาปกติได้ ทĞำให้ราคาข้าว +ตกตĞ่ำลงไปอีก ปัญหาเหล่านี้สร้างวงจรหนี้สินให้กับชาวนา เท่ากับเป็นการทĞำนา +เพื่อใช้หนี้ไม่จบสิ้น + +รัฐบาลได้พยายามมีมาตรการในการแก้ไขปัญหาเรื่องดังกล่าวในทุกยุค +ทุกสมัย ซึ่งในปี 2559 รัฐบาลปัจจุบันได้นĞำแนวทางการแก้ปัญหาแก่ชาวนาไทย +ทั้งมาตรการเฉพาะหน้าและมาตรการยั่งยืน โดยได้น้อมนĞำ “ศาสตร์พระราชา” +อันเป็น 1 ในหลักการทรงงาน ก็คือ “การศึกษาอย่างเป็นระบบ” ตั้งแต่ “ต้นทาง” +เช่น ที่ดิน แหล่งนĞ้ำ องค์ความรู้ เมล็ดพันธุ์ ยากĞำจัดศัตรูพืช “กลางทาง” เช่น +แหล่งทุน เครื่องจักรกลการเกษตร โรงสี การแปรรูป และนวัตกรรม และ +“ปลายทาง” เช่น ตลาดในประเทศ การส่งออกต่างประเทศ เป็นต้น + +จากปัญหาดังกล่าว รัฐบาลได้กĞำหนดมาตรการต่างๆ8 เพื่อช่วยเหลือชาวนา +ทั้งระบบออกมาเป็นระยะๆ เริ่มตั้งแต่ในมาตรการระยะสั้น หรือ มาตรการ +เฉพาะหน้า มีมติเห็นชอบมาตรการช่วยเหลือเกษตรและรักษาเสถียรภาพ +ราคาข้าว ปีการผลิต 2559-60 ในด้านการตลาด ตามที่คณะกรรมการนโยบาย +และบริหารจัดการข้าว (นบข.) เสนอมา ได้แก่ + +(1) โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2559-60 +ซึ่งกĞำหนดวงเงินสินเชื่อต่อตันข้าวเปลือก ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาตลาด +โดยเฉลี่ย +7 “ยุทธศาสตร์ข้าว” ฉบับหอการค้ายกระดับ“ชาวนาไทย”ขึ้นชั้นเกษตรยุคใหม่. เข้าถึงจาก http:// +www.thaichamber.org/scripts/detail.asp?nNEWSID=12216 เข้าถึงเมื่อ 15 พ.ย.59 +8 นายกฯเตรียม 4 กลยุทธ์แก้ราคาข้าวตกต่ำ�จ่อทบทวนโควต้านำ�เข้าข้าวโพด-ข้าวสาลี. เข้าถึงจาก +http://news.thaipbs.or.th/content/257404 เข้าถึ + +Chunk 46: +งเมื่อ 4 พ.ย. 59 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +6 + +(2) ค่าใช้จ่ายในการตากข้าวเปลือกและค่าแรงงานในการเตรียมข้าวเปลือก +เข้าร่วมโครงการ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร สหกรณ์การเกษตร กลุ่มเกษตรกร +รวมทั้งวิสาหกิจชุมชน และ + +(3) การช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยวและปรับปรุงคุณภาพข้าวให้แก่เกษตรกร +รายย่อย ผู้ปลูกข้าวหอมมะลิ ปีการผลิต 2559-60 เป็นต้น + +สĞำหรับมาตรการระยะยาวที่เป็นมาตรการช่วยเหลือชาวนาทั้งระบบอย่าง +เป็นขั้นเป็นตอน ได้แก่ + +(1) การลดพื้นที่ทĞำนาจากปีละ 69 ล้านไร่ เหลือ 55 ล้านไร่ และให้ +ปลูกพืชอื่นๆ ที่ได้กĞำไรสูงกว่า โดยมีนโยบายลดพื้นที่ทĞำนาปรัง ให้หันไปปลูกข้าว +สลับพืชอื่น เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง ถั่วเขียว + +(2) การจĞำแนกแผนการส่งเสริมข้าวและการกĞำหนดมาตรฐานตามประเภท +ของข้าว + +(3) การปรับโครงสร้างการปลูกและผลิตข้าวครบวงจร โดยควบคุม +การผลิตข้าว + +แต่อย่างไรก็ตาม ปัญหาข้าวราคาตĞ่ำและหนี้สินของชาวนาซึ่งเรื้อรังสะสม +มานาน จึงจĞำเป็นต้องแก้ไขทั้งระบบและต้องอาศัยระยะเวลา รวมทั้งได้รับ +ความร่วมมือจากหลายภาคส่วนตั้งแต่ต้นนĞ้ำ กลางนĞ้ำ และปลายนĞ้ำ นอกจากนี้ +ข้าวยังมีความสĞำคัญเกี่ยวข้องกับความมั่นคงทางอาหารอีกด้วย จึงควรมี +การศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้ทราบถึงปัญหาในแต่ละขั้นตอน ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง +และมาตรการ/ แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น + +จากปัญหาข้าวที่มีราคาตกตĞ่ำส่งผลให้ทุกฝ่ายจĞำเป็นต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง +ในการให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ทั้งนี้ กองทัพไทยโดยเฉพาะ +หน่วยทหารในพื้นที่ได้มีส่วนเข้าไปให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นและเป็นการลด +ต้นทุนการผลิตในด้านค่าจ้างแรงงาน อาทิ การเก็บเกี่ยว การให้ยืมเครื่องมือใน +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชากา���ป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +7 +ราคาถูก และการรับซื้อผลผลิตโดยตรงจากเกษตรกร เป็นต้น ซึ่งเป็นการช่วยเหลือ +เพียงมาตรการเฉพาะหน้าระยะสั้น โดยกองทัพถือเป็นกลไกหนึ่งของรัฐบาล +ในการสนับสนุนนโยบายในการแก้ปัญหา ซึ่งมีหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในพระราช +บัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2551 มาตรา 8 วงเล็บ 3 +ในการพัฒนาประเทศเพื่อความมั่นคงตลอดจนสนับสนุนภารกิจอื่นของรัฐในการ +พัฒนาประเทศ การป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติและการช่วยเหลือ +ประชาชน อีกทั้งยังตอบสนองนโยบายของรัฐมนตรีว่าการการะทรวงกลาโหม +ในการสนับสนุนการขับเคลื่อนและดĞำเนินการตามนโยบายที่สĞำคัญและเร่งด่วน +ของรัฐบาล ซึ่งการแก้ปัญหาข้าวเป็นหนึ่งในนโยบายของรัฐบาลเพื่อแก้ปัญหา +ความทุกข์ร้อนให้แก่ประชาชน + +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ในฐานะหน่วยงาน +คลังสมองของกองทัพไทย ซึ่งถือเป็นกลไกหนึ่งของรัฐบาล จึงทĞำการศึกษาเพื่อ +ให้การสนับสนุนนโยบายในการแก้ปัญหาความทุกข์ร้อนให้แก่เกษตรกรอย่าง +ยั่งยืน โดยได้จัดทĞำเอกสารวิชาการ (Working Paper) เรื่อง “บทบาทของกอง +ทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนา +อย่างยั่งยืน” โดยการระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเสนอ +แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืนต่อไป +1.2 วัตถุประสงค์การศึกษา + +1.2.1 เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทยตั้งแต่ขั้นต้นนĞ้ำ +กลางนĞ้ำ และปลายนĞ้ำ + +1.2.2 เพื่อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทยอย่างยั่งยืน +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ + + +Chunk 47: +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +8 +1.3 วิธีการดำ�เนินการศึกษา + +ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ดĞำเนินการศึกษาตามขั้นตอน ดังนี้ + +1.3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูล +ทุติยภูมิ และข้อมูลปฐมภูมิ + + +(1) ข้อมูลทุติยภูมิ ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง���าก +เอกสารวิชาการ งานวิจัย บทความ สรุปการประชุมสัมมนา และสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ +รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บทสรุปผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการ +อีสานเมืองข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ +โดยคณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อน การปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตร +ในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.) +และยุทธศาสตร์ข้าวไทยการวิจัยพัฒนาข้าวไทยและการมองไปข้างหน้า +โดยสĞำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย เป็นต้น + + +(2) ข้อมูลปฐมภูมิ โดยการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการ +สัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบ มีส่วนร่วม ในพื้นที่เป้าหมาย ดังนี้ + + + +- การสนทนาปัญหายุทธศาสตร์ ครั้งที่ 1/ 60 เรื่อง “แนวทาง +การแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 ธันวาคม 2559 +เวลา 0900 - 1600 ณ ห้องประชุม ศศย.สปท. โดยเป็นการระดมสมองจากภาค +ส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ หน่วยงานราชการ ภาคเอกชน และตัวแทนเกษตรกร +เป็นต้น รายละเอียดตาม ผนวก ก + + + +- การลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลการวิจัย 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 +ระหว่างวันที่ 23-24 ธันวาคม 2559 ณ จ.เพชรบุรี และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ +27 กุมภาพันธ์ - 2 มีนาคม 2560 ณ จ.สุรินทร์ รายละเอียดตาม ผนวก ข + +1.3.2 การวิเคราะห์ และการสรุปผลการศึกษา +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +9 +1.4 ขอบเขตของการศึกษา + +การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาบทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบาย +รัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน โดยใช้นโยบายการ +แก้ปัญหาข้าวของรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา มาเป็นกรอบ ในการศึกษา +โดยเอกสารวิชาการฉบับนี้ได้แบ่งการนĞำเสนอเนื้อหาเป็น 4 ส่วน ได้แก่ + +ส่วนที่ 1 บทนĞำ + +ส่วนที่ 2 สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย + +ส่วนที่ 3 แนวทางการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาไทยอย่างยั่งยืน + +ส่วนที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอเพิ่มเติม +1.5 กรอบแนวคิดในการศึกษา + +กรอบแนวคิดในการศึกษา เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทยในการสนั���สนุน +นโยบายรัฐบาล: กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” โดยผู้ศึกษา +ได้นĞำมาตรการการแก้ปัญหาเรื่องข้าวและชาวนาของรัฐบาลทั้งระยะสั้นและ +ระยะยาวมาศึกษา มีการลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ +เชิงลึกและสังเกตแบบ มีส่วนร่วม รวมทั้งการสนทนาปัญหายุทธศาสตร์เพื่อระดม +สมองจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวทาง การแก้ปัญหาข้าว +และชาวนาไทยอย่างยั่งยืน ดังกรอบแนวคิดในการศึกษาในภาพที่ 1 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +10 +ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการศึกษา +เรื่อง “บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล: +กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน” +1.6 ระยะเวลาดำ�เนินงาน + +ห้วงระยะเวลาทั้งสิ้น 5 เดือน ตั้งแต่ 1 พ.ย.59 – 31 มี.ค.60 +ศูนย์ศึกษ + +Chunk 48: +ายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +11 +2.1 ภาพรวมสถานการณ์ข้าวไทย + +ข่าวการชุมนุมของชาวนาในหลายจังหวัดเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหา +ราคาข้าวตกตĞ่ำ นับว่าเป็นปัญหาที่รัฐบาลต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ ปัญหา +ราคาข้าวตกตĞ่ำในปัจจุบันได้รับแรงกดดันจากปัญหาภายในประเทศ และปัญหา +การส่งออก ในห้วง 5 ปีที่ผ่านมาพบว่าข้าวและชาวนาไทยประสบกับวงจรปัญหา +ราคาข้าวที่มีความผันผวนอยู่อย่างต่อเนื่อง + +การเพาะปลูกข้าวของประเทศไทยในปีหนึ่งๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 +ฤดูด้วยกัน คือ ฤดูนาปี และฤดูนาปรัง โดยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 64.57 +ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.5 ของพื้นที่การเกษตร ในขณะที่มีจĞำนวนชาวนา +ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน9 ผลผลิตข้าวในปี 2559 +มีประมาณ 29.143 ล้านตันข้าวเปลือก ซึ่งคิดเป็นข้าวนาปี 25.20 ล้านตัน และ +ข้าวนาปรัง 3.940 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตข้าวมีการขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 7.3 ถึง +แม้ว่าจะประสบปัญหาทั้งจากภัยแล้งและอุทกภัยก็ตาม ดังตารางที่ 1 ผลผลิต +ข้าวนาปีและข้าวนาปรัง (2553-2560)10 +ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวน��ปีและข้าวนาปรัง (2553-2560) +ที่มา: สĞำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (เม.ย. 2559) +7 + + + + +2.1 สถานการณ์ข้าวไทย +ข่าวการชุมนุมของชาวนาในหลายจังหวัดเรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาราคาข้าวตกต่ า นับว่าเป็นปัญหา +ที่รัฐบาลต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่งด่วน ทั้งนี้ ปัญหาราคาข้าวตกต่ าในปัจจุบันได้รับแรงกดดันทั้งจากปัญหาในประเทศ +มาจากปัญหาภายในประเทศ และปัญหาการส่งออก ในห้วง 5 ปีที่ผ่านมาพบว่าข้าวและชาวนาไทยประสบกับวงจร +ปัญหาราคาข้าวที่มีความผันผวนอยู่อย่างต่อเนื่อง +การเพาะปลูกข้าวของประเทศไทยในปีหนึ่งๆ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ฤดูด้วยกัน คือ ฤดูนาปี และฤดู +นาปรัง โดยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวประมาณ 64.57 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 81.5 ของพื้นที่การเกษตร ในขณะที่มี +จ านวนชาวนา ประมาณ 3.72 ล้านครัวเรือน หรือ ประมาณ 17 ล้านคน9 ผลผลิตข้าวในปี 2559 มีประมาณ +29.143 ล้านตันข้าวเปลือก ซึ่งคิดเป็นข้าวนาปี 25.20 ล้านตัน และข้าวนาปรัง 3.940 ล้านตัน ซึ่งผลผลิตข้าวมีการ +ขยายตัวคิดเป็นร้อยละ 7.3 ถึงแม้ว่าจะประสบปัญหาทั้งจากภัยแล้งและอุทกภัยก็ตาม ดังตาราง10 + +หน่วย: ล้านตันข้าวเปลือก +รายการ +2553/54 +2554/55 +2555/56 +2556/57 +2557/58 +2558/59 +2559/60 ++/- (%) +ผลผลิตรวม +36.004 +38.102 +38.000 +36.76 +31.63 +27.42 +- +-13.3 +นาปี +25.743 +25.867 +27.234 +27.09 +26.27 +23.48 +25.20 ++7.3 +นาปรัง +10.261 +12.235 +10.766 +9.67 +5.36 +3.94 +- +-26.4 +ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (เม.ย. 2559) + +การเพาะปลูกข้าวในไทยสามารถเพาะปลูกได้ในทุกภูมิภาคและเกือบทุกจังหวัดของประเทศ โดยสามารถ +ปลูกได้ในเขตร้อนและมีความชื้นสูงหรือภายใต้อุณหภูมิ 22-30 องศาเซลเซียส ดินที่เหมาะสมในการปลูกข้าว คือ +ดินเหนียว เพราะมีคุณสมบัติในการอุ้มน้ าได้ดี มีความเป็นกรด/ ด่าง 5.0-6.5 และมีอินทรียวัตถุไม่น้อยกว่าร้อยละ +5 ของพื้นที่ในการเพาะปลูก ส าหรับจ านวนครั้งในการเพาะปลูกของแต่ละปีขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและสภาพพื้นที่ +ซึ่งรูปแบบในการเพาะปลูกข้าวของไทยแบ่งออกเป็น 2 คือ นาปี และนาปรัง11 โดยกลุ่มพันธุ์ข้าวที่เกษตรกรปลูกใน + + +9 คณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตรในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.) . บ + +Chunk 49: +ทสรุป +ผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการอีสา��เมืองข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ .. 2559 หน้า 4 +10 สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, ผลผลิตข้าว, เข้าถึงจาก http://www.thairiceexporters.or.th/production.htm, เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 59 +11 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. หน้า 94 +ส่วนที่ 2 + +ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย +9 คณะอนุกรรมาธิการการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจด้านการเกษตรในคณะกรรมาธิการขับเคลื่อน +การปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ (สปท.). บทสรุปผู้บริหารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการอีสานเมือง +ข้าวและอุตสาหกรรมข้าวครบวงจรกรณีศึกษา : จังหวัดกาฬสินธุ์ .. 2559 หน้า 4 +10 สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, ผลผลิตข้าว, เข้าถึงจาก http://www.thairiceexporters.or.th/production. +htm, เข้าถึงเมื่อ 4 พ.ย. 59 +ส่วนที่ 2 +สถานการณ์ข้าวไทย ปัญหาและอุปสรรคของข้าวและชาวนาไทย +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +12 + +การเพาะปลูกข้าวในไทยสามารถเพาะปลูกได้ในทุกภูมิภาคและเกือบ +ทุกจังหวัดของประเทศ โดยสามารถปลูกได้ในเขตร้อนและมีความชื้นสูงหรือ +ภายใต้อุณหภูมิ 22-30 องศาเซลเซียส ดินที่เหมาะสมในการปลูกข้าว คือ +ดินเหนียว เพราะมีคุณสมบัติในการอุ้มนĞ้ำได้ดี มีความเป็นกรด/ ด่าง 5.0-6.5 +และมีอินทรียวัตถุไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของพื้นที่ในการเพาะปลูก สĞำหรับจĞำนวน +ครั้งในการเพาะปลูกของแต่ละปีขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและสภาพพื้นที่ +ซึ่งรูปแบบในการเพาะปลูกข้าวของไทยแบ่งออกเป็น 2 คือ นาปี และนาปรัง11 +โดยกลุ่มพันธุ์ข้าวที่เกษตรกรปลูกในปัจจุบันแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย +กลุ่มข้าวขาว กลุ่มข้าวหอม และกลุ่มข้าวเหนียว พันธุ์ข้าวแต่ละกลุ่มกระจาย +ตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ดังนี้ +ภาพที่ 2 แผนที่แสดงพื้นที่การปลูกข้าวตามกลุ่มพันธุ์ต่างๆ +ที่มา: เขตการปลูกข้าวของไทย (กรมการข้าว, 2556) +11 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. +หน้า 94 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและ��าวนาอย่างยั่งยืน + +13 + +กลุ่มข้าวขาวประกอบด้วย พันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง ข้าวเจ้าไวต่อ +ช่วงแสง ข้าวเจ้าพันธุ์พื้นเมือง และเข้าเจ้าอื่นๆ โดยครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ +ร้อยละ 32 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ +ลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา บริเวณภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลาง + +กลุ่มข้าวหอมประกอบด้วย พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข 15 ปทุมธานี 1 และ +ข้าวเจ้าหอมพันธุ์อื่นๆ โดยครอบคลุมพื้นที่ ประมาณร้อยละ 51 ของพื้นที่ +ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่นํ้ามูล และลุ่มแม่นํ้าชี +รวมถึงลุ่มแม่นํ้ากกที่บริเวณภาคเหนือตอนบน + +กลุ่มข้าวเหนียวประกอบด้วย พันธุ์ข้าว กข 6 ข้าวเหนียวไม่ไวต่อช่วงแสง +ข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสง ข้าวเหนียวพันธุ์อื่นๆ ครอบคลุมพื้นที่ ประมาณร้อยละ 17 +ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งประเทศ พื้นที่ปลูกส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ +ตอนบน และภาคเหนือตอนบน12 + +ในขั้นตอนการค้าข้าวหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตชาวนาส่วนใหญ่จะขายข้าว +ในรูปแบบของข้าวสด เนื่องจาก ปัจจุบันชาวนาไม่มียุ้งฉางและลานตากข้าว +เป็นของตนเอง จึงนĞำไปขายในพื้นที่ใกล้กับแหล่งผลิต ได้แก่ ท่าข้าว ตลาดกลาง +โรงสี ลานรับซื้อพืชไ + +Chunk 50: +ร่ และสหกรณ์การเกษตร ทั้งนี้ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ +ขายข้าวของชาวนา ได้แก่ ราคารับซื้อ ระยะทางจากนาข้าวกับแหล่งรับซื้อ +เป็นต้น หลังจากนั้นจะนĞำข้าวเปลือกจากแหล่งรับซื้อไปขายยังโรงสีโดยข้าว +บางส่วนจะนĞำมาแปรรูปเป็นข้าวสารเพื่อขายต่อไปยังนายหน้าหรือหยง พ่อค้า +ส่งในประเทศ และผู้ส่งออก13 โดยราคาขายข้าวมีความผันผวน ซึ่งในบางปี +12 กรมการข้าว, เอกสารนำ�เสนอ เรื่อง เขตการปลูกข้าวของไทย. 2556 หน้า 4 - 6 +13 อัทธ์ พิศาลวานิช, ข้าวไทยในประชาคมอาเซียน, สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558. +หน้า 100 +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +14 +มีราคาสูงและบางปีที่มีราคาตĞ่ำมาก การแก้ปัญหาโดยภาครัฐส่วนใหญ่จะ +ดĞำเนินการด้วยการแทรกแซง/ ประกันรา���า/ รับจĞำนĞำข้าว เป็นต้น ซึ่งการ +แก้ปัญหาดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายให้ราคาข้าวที่คงที่ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น +และความมั่นคงทางด้านราคา แต่สามารถสร้างผลกระทบในด้านอื่นๆ ได้ + +จากข้อมูลที่ราคาข้าวเมื่อช่วงเดือนสิงหาคม - ตุลาคม 2559 ตกตĞ่ำลง +ร้อยละ 13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งจากการสĞำรวจราคา +ข้าวเปลือกในแต่ละจังหวัดของสมาคมโรงสีข้าวไทย พบว่าราคาข้าวเปลือก +หอมมะลิและข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลง โดยข้าวเปลือกหอมมะลิฤดูกาล +ผลิตปี 2559/60 ที่ผลผลิตเริ่มทยอยออกมาแล้วในบางจังหวัด ปรับตัวลดลง +ถึง 1,000 บาทต่อตัน ซึ่งราคา ณ วันที่ 26 ต.ค.59 ข้าวเปลือกหอมมะลิ +ความชื้น 15% จ.บุรีรัมย์ ราคาอยู่ 9,000 บาทต่อตัน ลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. 59 +ที่มีราคา 10,000 บาทต่อตัน ส่วนที่ จ.นครราชสีมา ข้าวเปลือกหอมมะลิ ความชื้น +30% วันที่ 26 ต.ค. ราคาอยู่ที่ 6,800-7,000 บาทต่อตัน ขณะที่ราคา ณ วันที่ +19 ต.ค. ที่ความชื้น 15% อยู่ที่ 9,800-10,000 บาทต่อตัน สĞำหรับราคา +ข้าวเปลือกเจ้า 5% ได้ปรับตัวลดลงเช่นกัน โดยราคา ณ วันที่ 26 ต.ค. +ข้าวเปลือกเจ้า 5% ความชื้น 15% ที่ จ.สุพรรณบุรี ราคา 7,400-7,700 บาท +ต่อตัน ปรับลดลงจากวันที่ 19 ต.ค. ที่มีราคา 8,700 บาทต่อตัน หรือลดลง +1,000 บาทต่อตัน เช่นเดียวกัน ในขณะที่ราคาซื้อขายข้าวล่วงหน้า ณ เดือน +ธ.ค.59 โดยเป็นราคาที่ผู้ส่งออกซื้อข้าวสารหอมมะลิจากผู้ประกอบการโรงสี +อยู่ที่ 15,800 บาทต่อตัน หรือ 15.80 บาทต่อกิโลกรัม (กก.) เมื่อทอนเป็นราคา +ข้าวเปลือกหอมมะลิจะอยู่ที่ 8,000 กว่าบาทต่อตัน เนื่องจากราคาส่งออก +ข้าวหอมมะลิที่ซื้อขายล่วงหน้าตĞ่ำกว่า 500 เหรียญสหรัฐต่อตัน หรืออยู่ที่ +ประมาณ 490 เหรียญสหรัฐต่อตัน ต่างจากราคาซื้อขายล่วงหน้าตามปกติ +ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ +สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ +บทบาทของกองทัพไทยในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาล : กรณีศึกษาการแก้ปัญหาข้าวและชาวนาอย่างยั่งยืน + +15 +ซึ่งอยู่ที่ 750-775 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ซึ่งถือเป็นราคาที่ตĞ่ำที่สุดในรอบ +เกือบ 10 ปี14 เนื่องจากตลาดเกิดภาวะตื่นตระหนกจากผลผลิตข้าวที่เพิ่ม +มากขึ้นเกือบทุกประเทศ ทĞำให้มีการกดราคาซื้อข้าว15 + +นอกจากนี้ จากการสĞำรวจภาวะเศรษฐกิจภาคเกษตรกร โดยสĞำนักงาน +เศรษฐกิจการเกษตร พบว่าเกษตรกรจĞำนวน 6.6 ล้านครัวเรือน ชาวนามีรายได้ +ตĞ่ำสุดเมื่อเทียบกับภาคเกษตรอื่นๆ16 พบสาเหตุที่ราคาข้าวลดลงนอกจากเป็นการ +ลดลงตามราคาสินค้าเกษตรโลกแล้ว ปัจจัยภายในส่วนหนึ่งเกิดจากราคาข้าว +ที่ราคาตกตĞ่ำในช่วงปลายปี พ.ศ.2559 อาจอธิบายได้ว่าปัญหาส่วนหนึ่งมาจาก +ข้าวคงคลังที่ยังเหลืออยู่จากนโยบายจĞำนĞำข้าวของรัฐบาลที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิ