Book,Page,LineNumber,Text 31,0002,001,ความต่างแห่งโคจร] ๑ ปัญญาในการกำหนดจริยา เป็นจริยานานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่ง 31,0002,002,จริยา] ๑ ปัญญาในการกำหนดธรรม ๔ เป็นภูมินานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งภูมิ] ๑ ปัญญา 31,0002,003,ในการกำหนดธรรม ๙ เป็นธรรมนานัตตญาณ [ญาณในความต่างแห่งธรรม]๑ ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็น 31,0002,004,ญาตัฏฐญาณ [ญาณในความว่ารู้] ๑ ปัญญาเครื่องกำหนดรู้เป็นตีรณัฏฐญาณ [ญาณในความว่า 31,0002,005,พิจารณา] ๑ ปัญญาในการละ เป็นปริจจาคัฏฐญาณ [ญาณในความว่าสละ] ๑ ปัญญาเครื่องเจริญ 31,0002,006,เป็นเอกรสัฏฐญาณ[ญาณในความว่ามีกิจเป็นอันเดียว] ๑ ปัญญาเครื่องทำให้แจ้ง เป็นผัสสนัฏฐญาณ 31,0002,007,[ญาณในความว่าถูกต้อง] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอัตถปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญาใน 31,0002,008,ความต่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัม 31,0002,009,ภิทาญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ๑ ปัญญาในความต่างแห่ง 31,0002,010,วิหารธรรม เป็นวิหารัฏฐญาณ [ญาณในความว่าธรรมเครื่องอยู่] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งสมาบัติ 31,0002,011,เป็นสมาปัตตัฏฐญาณ [ญาณในความว่าสมาบัติ] ๑ ปัญญาในความต่างแห่งวิหารสมาบัติ เป็นวิหาร 31,0002,012,สมาปัตตัฏฐญาณ [ญาณในความว่าวิหารสมาบัติ] ๑ ปัญญาในการตัดอาสวะขาด เพราะความ 31,0002,013,บริสุทธิ์แห่งสมาธิอันเป็นเหตุไม่ให้ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิญาณ [ญาณในสมาธิอันมีในลำดับ] ๑ 31,0002,014,ทัสนาธิปไตย ทัสนะมีความเป็นอธิบดี วิหาราธิคม คุณเครื่องบรรลุ คือวิหารธรรมอันสงบ 31,0002,015,และปัญญาในความที่จิตเป็นธรรมชาติน้อมไปในผลสมาบัติอันประณีต เป็นอรณวิหารญาณ[ญาณ 31,0002,016,ในวิหารธรรมอันไม่มีกิเลสเป็นข้าศึก] ๑ ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญด้วยความเป็นผู้ประกอบ 31,0002,017,ด้วยพละ ๒ ด้วยความระงับสังขาร ๓ ด้วยญาณจริยา ๑๖และด้วยสมาธิจริยา ๙ เป็นนิโรธสมาปัตติ 31,0002,018,ญาณ [ญาณในนิโรธสมาบัติ] ๑ ปัญญาในความสิ้นไปแห่งความเป็นไปแห่งกิเลสและขันธ์ของบุคคล 31,0002,019,ผู้รู้สึกตัว เป็นปรินิพพานญาณ ๑ ปัญญาในความไม่ปรากฏแห่งธรรมทั้งปวง ในการตัดขาดโดยชอบ 31,0002,020,และในนิโรธ เป็นสมสีสัฏฐญาณ [ญาณในความว่าธรรมอันสงบและธรรมอันเป็นประธาน] ๑ 31,0002,021,ปัญญาในความสิ้นไปแห่งกิเลสอันหนา สภาพต่างๆ และเดชเป็นสัลเลขัฏฐญาณ [ญาณในความ 31,0002,022,ว่าธรรมเครื่องขัดเกลา] ๑ ปัญญาในความประคองไว้ซึ่งจิตอันไม่หดหู่และจิตที่ส่งไป เป็นวิริยารัมภ 31,0002,023,ญาณ ๑ ปัญญาในการประกาศธรรมต่างๆ เป็นอรรถสันทัสนญาณ [ญาณในการเห็นชัดซึ่งอรรถ 31,0002,024,ธรรม] ๑ปัญญาในการสงเคราะห์ธรรมทั้งปวงเป็นหมวดเดียวกันในการแทงตลอดธรรมต่างกันและ 31,0002,025,ธรรมเป็นอันเดียวกัน เป็นทัสนวิสุทธิญาณ ๑ ปัญญาในความที่ธรรมปรากฏโดยความเป็นของไม่เที่ยง 31,0002,026,เป็นต้น เป็นขันติญาณ ๑ ปัญญาในความถูกต้องธรรมเป็นปริโยคาหนญาณ [ญาณในความย่างเข้า 31,0002,027,ไป] ๑ ปัญญาในการรวมธรรมเป็นปเทสวิหารญาณ [ญาณในวิหารธรรมส่วนหนึ่ง] ๑ ปัญญาใน