Book,Page,LineNumber,Text 31,0005,001,มหาวรรค ญาณกถา 31,0005,002,[๑] ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว เป็นสุตมยญาณอย่างไร 31,0005,003,ปัญญาอันเป็นเครื่องทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว คือ เครื่องรู้ชัดธรรมที่ได้สดับมาแล้ว 31,0005,004,นั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่ง ธรรมเหล่านี้ควรกำหนดรู้ ธรรมเหล่านี้ควรละ ธรรมเหล่านี้ควรให้ 31,0005,005,เจริญ ธรรมเหล่านี้ควรทำให้แจ้ง ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความเสื่อม ธรรมเหล่านี้เป็นไป 31,0005,006,ในส่วนแห่งความตั้งอยู่ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วนแห่งความวิเศษ ธรรมเหล่านี้เป็นไปในส่วน 31,0005,007,แห่งการชำแรกกิเลสสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา นี้ทุกข 31,0005,008,อริยสัจนี้ทุกขสมุทัยอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธอริยสัจ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจเป็นสุตมยญาณ 31,0005,009,[แต่ละอย่าง] ฯ 31,0005,010,[๒] ปัญญาอันเป็นเครื่องทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว คือ เป็นเครื่องรู้ชัดซึ่งธรรมที่ได้ 31,0005,011,สดับมาแล้วนั้นว่า ธรรมเหล่านี้ควรรู้ยิ่ง เป็นสุตมยญาณอย่างไรธรรมอย่างหนึ่งควรรู้ยิ่ง คือ 31,0005,012,สัตว์ทั้งปวงดำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร ธรรม ๒ ควรรู้ยิ่งคือ ธาตุ ๒ ธรรม ๓ ควรรู้ยิ่ง คือ ธาตุ ๓ 31,0005,013,ธรรม ๔ ควรรู้ยิ่ง คือ อริยสัจ ๔ธรรม ๕ ควรรู้ยิ่ง คือ วิมุตตายตนะ ๕ ธรรม ๖ ควรรู้ยิ่ง 31,0005,014,คืออนุตตริยะ ๖ธรรม ๗ ควรรู้ยิ่ง คือ นิททสวัตถุ [เหตุที่พระขีณาสพนิพพานแล้วไม่ปฏิสนธิ 31,0005,015,อีกต่อไป] ๗ ธรรม ๘ ควรรู้ยิ่ง คือ อภิภายตนะ [อารมณ์แห่งญาณอันฌายีบุคคลครอบงำไว้] ๘ 31,0005,016,ธรรม ๙ ควรรู้ยิ่ง คือ อนุปุพพวิหาร ๙ ธรรม ๑๐ควรรู้ยิ่ง คือนิชชรวัตถุ [เหตุกำจัดมิจฉาทิฐิ 31,0005,017,เป็นต้น] ๑๐ ฯ 31,0005,018,[๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติทั้งปวงควรรู้ยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลายก็ธรรมชาติทั้งปวง 31,0005,019,ควรรู้ยิ่ง คืออะไร คือ ตา รูป จักขุวิญญาณ จักขุสัมผัสสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรือแม้ 31,0005,020,อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็นปัจจัย [แต่ละอย่างๆ] ควรรู้ยิ่ง หู เสียง ฯลฯ 31,0005,021,จมูก กลิ่น ฯลฯ ลิ้นรส ฯลฯ กาย โผฏฐัพพะ ฯลฯ ใจ ธรรมารมณ์ มโนวิญญาณ มโน 31,0005,022,สัมผัสสุขเวทนา ทุกขเวทนา หรือแม้อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย 31,0005,023,ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ