Book,Page,LineNumber,Text 28,0020,001,

อรรถกถาปฐมโนอัสสาทสูตรที่ ๕

28,0020,002,ในสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้. 28,0020,003,บทว่า นิสฺสฏ แปลว่า ออกไปแล้ว. บทว่า วิสญฺญุตฺตา แปลว่า 28,0020,004,ไม่ประกอบ. บทว่า วิปฺปมุตฺตา แปลว่า ไม่พ้นแล้ว. บทว่า วิปฺปริยา- 28,0020,005,ทิกเตน เจตสา ได้แก่ มีใจที่ไม่มีอะไรยึดไว้เป็นต้น. บทว่า ยํ ได้แก่ 28,0020,006,กิเลสชาตหรือวัฏฏะที่ยังละไม่ได้. จิตของพระเสขะทั้งหลาย เป็นอันชื่อว่า 28,0020,007,อันกิเลสชาตหรือวัฏฏะยังยึดมั่นอยู่เป็นต้น แต่ในที่นี้ จิตที่อันกิเลสชาต 28,0020,008,หรือวัฏฏะชื่อว่าไม่ยึดมั่นเป็นต้น เพราะกิเลสและวัฏฏะท่านละได้แล้วโดย 28,0020,009,ประการทั้งปวง อธิบายว่า พระอริยเจ้ามีจิตปราศจากความยึดมั่น คือ 28,0020,010,ก้าวล่วงการยึดมั่นของกิเลสวัฏฏะ. 28,0020,011,จบ อรรถกถาปฐมในอัสสาทสูตรที่ ๕ 28,0020,012,

๖. ทุติยโนอัสสาทสูตร

28,0020,013,

ว่าด้วยการปฏิเสธคุณและโทษแห่งอายตนะ

28,0020,014,[ ๑๘ ] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าคุณแห่งรูปจักไม่มีแล้วไซร้ สัตว์ 28,0020,015,ทั้งหลายก็จะไม่พึงกำหนดในรูป แต่เพราะคุณแห่งรูปมีอยู่ ฉะนั้น สัตว์ 28,0020,016,ทั้งหลายจึงกำหนัดในรูป ถ้าโทษแห่งรูปจักไม่มีแล้วไซร้ สัตว์ทั้งหลาย 28,0020,017,ก็จะไม่พึงเบื่อหน่ายในรูป แต่เพราะโทษแห่งรูปมีอยู่ ฉะนั้น สัตว์ทั้งหลาย 28,0020,018,จึงเบื่อหน่ายในรูป ถ้าความสลัดออกแห่งรูปจักไม่มีแล้วไซร้ สัตว์ทั้งหลาย 28,0020,019,ก็จะไม่พึงสลัดออกจากรูป แต่เพราะความสลัดออกแห่งรูปมีอยู่ ฉะนั้น 28,0020,020,สัตว์ทั้งหลายจึงสลัดออกจากรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ถ้าคุณแห่ง 28,0020,021,ธรรมารมณ์จักไม่มีแล้วไซร้ สัตว์ทั้งหลายก็จะไม่พึงกำหนัดในธรรมารมณ์