Book,Page,LineNumber,Text 50,0017,001,โสกะ ปริเทวะ อุปายาสด้วย เป็นผลคือทุกข์ด้วย. 50,0017,002,๒๔๗๕ 50,0017,003,ถ. โสกะ ปริเทวะ โทมนัส อุปายาส ล้วนเป็นทุกข์ทางใจ 50,0017,004,ด้วยกันทั้งนั้นมิใช่หรือ แต่มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? 50,0017,005,ต. เป็นทุกข์ทางใจด้วยกันทั้งนั้น แต่เมื่อกล่าวถึงลักษณะย่อม 50,0017,006,ต่างกัน คือ โสกะ ความแห่งใจ หมายถึงความที่ใจหดหู่เหี่ยวแห้ง 50,0017,007,ไม่ชุ่มชื่นร่าเริง. ปริเทวะ ความร่ำไรรำพัน หมายถึงความคร่ำครวญ 50,0017,008,อาลัยถึงสิ่งที่เป็นที่รักใคร่ เมื่อแรงกล้า ก็แสดงออกทางกายมีร้องไห้ 50,0017,009,เป็นต้น แสดงออกทางวาจา บ่นเพ้อถึง. โทมนัส ความเสียใจหมายถึง 50,0017,010,ความที่จิตสลด แต่มิใช่สลดด้วยธรรมสังเวช. อุปายาสความคับแค้น 50,0017,011,หมายถึงความคับแค้นในจิต โดยความได้แก่ความอึดอัดใจ. 50,0017,012,ส. ป. 50,0017,013,ถ. โสกะ ปริเทวะ โทมนัส อุปายาส เป็นผลเนื่องมาจากไหน ? 50,0017,014,ต. เมื่อพิจารณาเทียบเคียงดู โสกะ ปริเทวะ อุปายาส ดูเป็น 50,0017,015,ผลสืบมาจากราคะ ในเมื่อได้ได้อารมณ์อันเป็นที่รักสมหวัง หรือ 50,0017,016,เมื่อได้มาแล้วพลัดพรากจากไป โทมนัส ดูเป็นผลสืบมาจากโทสะ. 50,0017,017,ส. ป. 50,0017,018,ถ. ความอยากที่เกิดจากธรรมดาแสร้งสรร เช่นอยากข้าว 50,0017,019,อยากน้ำเป็นต้น ท่านไม่ได้จัดเป็นตัณหา เพราะไม่เข้าลักษณะเป็น 50,0017,020,โปโนพฺภวิกา๑<\sup> นนฺทิราคสหคตา๒<\sup>หรือ ตตฺรตตฺราภินนฺทินี๓<\sup> แต่