Book,Page,LineNumber,Text 41,0046,001,กสิณนั้นชื่อว่าบริกรรมนิมิต เมื่อเพ่งดูจนติดตา หลับตาลงจำนิมิต 41,0046,002,นั้นได้เหมือนแลเห็น นิมิตที่ติดตานั้นชื่ออุคคหนิมิต เมื่อชำนาญเข้า 41,0046,003,นึกขยายส่วน ย่อส่วนแห่งอุคคหนิมิตนั้นได้ นิมิตเทียบนั้นชื่อว่า 41,0046,004,ปฏิภาคนิมิต. 41,0046,005,๗/๑๑/๖๐ 41,0046,006,ถ. บริกรรมนิมิตกับบริกรรมภาวนา ต่างกันอย่างไร ? อย่าง 41,0046,007,ไหนได้ (หาได้หรือมี) ในกัมมัฏฐานชนิดไหน ? 41,0046,008,ต. ต่างกันอย่างนี้ บริกรรมนิมิต แปลว่า นิมิตในบริกรรม 41,0046,009,ได้แก่การที่โยคาพจรผู้เจริญกัมมัฏฐานเพ่งดูวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งเป็น 41,0046,010,อารมณ์ เช่นกสิณ ๑๐ หรืออสุภะ ๑๐ วัตถุนั้นที่โยคาพจรเพ่งดูและ 41,0046,011,นึกเป็นอารมณ์ ซึ่งเรียกว่าบริกรรม จัดเป็นบริกรรมนิมิต ส่วน 41,0046,012,บริกรรมภาวนานั้น แปลว่า ภาวนาในบริกรรม ได้แก่กิริยาที่ทำ 41,0046,013,บริกรรมในขณะที่เจริญกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่เพ่งดู 41,0046,014,วัตถุดังกล่าวแล้ว ในบริกรรมนิมิตนั้นก็ดี ทั้งที่เป็นแต่ลำพังนึก 41,0046,015,เช่นเจริญอนุสสติก็ดี จัดเป็นบริกรรมภาวนา บริกรรมนิมิตได้ 41,0046,016,(คือหาได้หรือมี) เฉพาะในกัมมัฏฐานชนิดที่มีรูปที่เพ่งดูด้วยตา 41,0046,017,และนึกเป็นอารมณ์เท่านั้น. ส่วนบริกรรมภาวนานั้นได้กัมมัฏฐาน 41,0046,018,ทั้งปวง. 41,0046,019,๒๑/๙/๘๐ 41,0046,020,ถ. จงจัดภาวนา ๓ ลงในภาวนา ๒ ? ทำไมจึงจัดเช่นนั้น ? 41,0046,021,ต. ภาวนา ๓ คือ บริกรรมภาวนา ๑ อุปจารภาวนา ๑