Book,Page,LineNumber,Text 41,0038,001,ชื่อเหมือนกันกับอรูปสมาบัติ ๔ และอรูปพรหม. 41,0038,002,๑/๗/๗๓ 41,0038,003,ถ. ญาณ ๓ คือ อตีตังสญาณ อนาคตังสญาณ และปัจจุป- 41,0038,004,ปันนังสญาณ เป็นโลกิยะหรือโลกุตตระ ? จงอ้างเหตุผลมาประกอบ. 41,0038,005,ต. ญาณทั้ง ๓ ดังกล่าวนี้ ถ้าเป็นญาณของผู้ใดฌานสมาบัติก็ 41,0038,006,"เป็นโลกิยะ เพราะฌานสมาบัติเป็นชั้นโลกิยะ, แต่ถ้าเป็นฌานของพระ" 41,0038,007,อริยบุคคลแม้ชั้นโสดาบัน ก็เป็นโลกุตตระ เพราะอริยมรรค อริยผล 41,0038,008,ทั้งหมดล้วนเป็นโลกุตตรธรรม. 41,0038,009,๒๕๐๖ 41,0038,010,ถ. ญาณ ๓ เทียบได้กับปฏิสัมภิทาอย่างไหน ? จงอธิบาย. 41,0038,011,ต. อตีตังสญาณ เทียบได้กับธรรมปฏิสัมภิทา เพราะเป็นความ 41,0038,012,เข้าใจสาวหาเหตุในภายหลัง อนาคตังสญาณ เทียบได้กับอัตถปฏิสัม- 41,0038,013,ภิทา เพราะเป็นความเข้าใจคาดหน้าถึงผลอันจักมี ปัจจุปปันนังสญาณ 41,0038,014,เทียบได้ในทันทีในเมื่อเหตุหรือผลเกิดขึ้นโดยฉุกเฉิน. 41,0038,015,๒๔๖๓ 41,0038,016,ถ. อาการ ๑๒ และปริตร ๓ ของอริยสัจ ๔ เป็นอย่างไร ? จง 41,0038,017,บริหาร. 41,0038,018,ต. อาการ ๑๒ และปริตร ๓ ของอริยสัจ ๔ เป็นดังนี้ คือปรีชา 41,0038,019,หยั่งรู้ว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา 41,0038,020,จัดเป็นสัจจญาณ. ปรีชาหยั่งรู้ว่า ทุกข์เป็นปริญญาตัพพธรรม 41,0038,021,ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็นปหาตัพพธรรม ควรละเสีย ทุกขนิโรธเป็น