Book,Page,LineNumber,Text 36,0016,001,พิธีรักษาอุโบสถ 36,0016,002,อุโบสถ เป็นเรื่องของกุศลกรรมสำคัญประการหนึ่งของคฤหัสถ์ แปลว่า 36,0016,003,การเข้าจำ เป็นอุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง และเป็นทางแห่งความ 36,0016,004,สงบ ระงับอันเป็นความสุขอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา เพราะฉะนั้น พุทธ- 36,0016,005,ศาสนิกชนผู้อยู่ในฆราวาสวินัย จึงนิยมเอาใจใส่หาโอกาสประพฤติปฏิบัติตาม 36,0016,006,สมควร อุโบสถของคฤหัสถ์ที่กล่าวนี้มี ๒ อย่าง คือ ปกติอุโบสถอย่าง ๑ ปฏิชาคร 36,0016,007,อุโบสถอย่าง ๑ อุโบสถที่รับรักษากันตามปรกติเฉพาะวันหนึ่งคือหนึ่งอย่างที่ 36,0016,008,รับรักษาเป็นพิเศษกว่าปรกติ คือ รักษาคราวละ ๓ วัน จัดเป็นวันรับวันหนึ่ง วัน 36,0016,009,รักษาวันหนึ่ง และวันส่งวันหนึ่ง เช่น จะรักษาอุโบสถวัน ๘ ค่ำ ต้องรับและ 36,0016,010,รักษามาแต่วัน ๗ ค่ำ ตลอดไปถึงสุดวัน ๙ ค่ำ คือ ได้อรุณใหม่ของวัน ๑๐ ค่ำ 36,0016,011,นั่นเอง จึงหยุดรักษา อย่างนี้เรียกว่า ปฏิชาครอุโบสถ ทั้ง ๒ อย่างนี้ ต่างกันเฉพาะ 36,0016,012,วันที่รักษามากน้อยกว่ากันเท่านั้น และการรักษาอุโบสถทั้ง ๒ อย่างนี้ โดยเนื้อแท้ 36,0016,013,ก็คือสมาทานรักษาศีล ๘ อย่างเคร่าครัด เป็นเอกัชฌสมาทานมั่นคงอยู่ด้วยความ 36,0016,014,ผูกใจจนตลอดกาลของอุโบสถที่ตนสมาทานนั้น จึงเป็นเหตุให้เกิดประโยชน์ 36,0016,015,สำคัญดังกล่าวแล้ว 36,0016,016,การรักษาอุโบสถนี้ ประกอบด้วยพิธีกรรมซึ่งปฏิบัติกันมาโดยระเบียบ 36,0016,017,ต่อไปนี้ 36,0016,018,ระเบียบพิธี 36,0016,019,๑. เมื่อตั้งใจจะรักษาอุโบสถวันพระใด พึงตื่นแต่เช้ามืดก่อนรุ่งอรุณ 36,0016,020,ของวันนั้นพอได้เวลารุ่งอรุณของวันนั้น พึงเตรียมตัวให้สะอาดเรียบร้อยตลอดถึง 36,0016,021,"การบ้วนปากแล้วบูชาพระเปล่งวาจกอธิษฐานอุโบสถด้วยตนเองก่อนว่า ""อิมํ" 36,0016,022,อฏฺ€งฺคสมนฺนาคตํ พุทฺธปญฺตฺตํ อุปโปสถํล อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวสํ 36,0016,023,"สมฺมเทว อภิรกฺขิตุํ สทาทิยามิ"" ความว่า ""ข้าพเจ้าของสมาทานอุโบสถพุทธ-"