Book,Page,LineNumber,Text 09,0016,001,อาสวะ ๓ 09,0016,002,กามาสวะ อาสวะเป็นเหตุอยากได้ 09,0016,003,ภวาสวะ อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น 09,0016,004,อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชาความเขลา. 09,0016,005,ที. มหา. ๑๐/๙๖. 09,0016,006,อธิบาย: ศัพท์ว่า อาสวะนั้น อย่างหนึ่งใช้เรียกเมรัย เช่น 09,0016,007,"""ปุปฺผาสโว"" น้ำดองดอกไม้ ""ผลาสโว"" น้ำดองผลไม้. อีก" 09,0016,008,อย่างหนึ่ง ใช้เรียกเจตสิกอันเศร้าหมอง เช่นอาสวะ ๓ นี้. อาสวะ 09,0016,009,กับกิเลสต่างกันหรือเป็นแววจนะของกันและกัน ควรได้รับความ 09,0016,010,พิจารณา. เพ่งพยัญชนะแห่งศัพท์ น่าจะเห็นว่า กิเลสที่แปลว่าสภาพ 09,0016,011,ที่เศร้าหมองหรือเครื่องเศร้าหมอง ใช้เรียกเจตสิกประเภทนั้นทั่วไป 09,0016,012,อาสวะที่แปลว่า สภาพดองหรือหมักหมม ใช้เรียกเจตสิกประเภทนั้น 09,0016,013,เฉพาะที่แก่กล้านับว่าเป็นเจ้าเรือน อุทาหรณ์คนสามัญยังมีอยากได้ 09,0016,014,ยังมีโกรธ แต่เขาไม่เรียกว่าเป็นคนมักได้ เป็นคนมักโกรธ ทุกคนไป 09,0016,015,เขาเรียกเฉพาะบางคน เช่นนี้ เขาหมายเอาความอยากได้บ้าง ความ 09,0016,016,โกรธบ้าง อันเป็นไปกล้า หรืออันเป็นอาจิณในสันดานของบุคคลนั้น. 09,0016,017,แต่อันที่แท้ดูเหมือนเป็นแววจนะของกันและกันเรียกในต่างคราว. ใน 09,0016,018,บางคราวแบ่งเรียกบางอย่างว่าอาสวะ บางอย่างว่าอนุสัย บางอย่างว่า 09,0016,019,สังโยชน์ บางอย่างว่าคันถะ บางอย่างว่าอกุศลจิตตุปบาท และอื่น ๆ อีก 09,0016,020,ในบางคราวรวมเรียกว่ากิเลส. คนอยากได้เพราะอาสวะประเภทใด 09,0016,021,เป็นเหตุ อาสวะนั้น จัดเป็นกามาสวะ. คนอย่างเป็นอยู่ อยากเกิด