Book,Page,LineNumber,Text 09,0015,001,จัดเป็นปฏิปทานุตตริยะ. ความพ้นจากกิเลสาสวะเป็นอกุปปธรรม 09,0015,002,เพราะปฏิปทานั้น จัดเป็นวิมุตตานุตตริยะ. 09,0015,003,อภิสังขาร ๓ 09,0015,004,ปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบุญ 09,0015,005,อปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบาป 09,0015,006,อเนญชาภิสังขาร อภิสังขารคืออเนญชา. 09,0015,007,ขุ. ปฏ. ๓๑/๑๘๑. 09,0015,008,อธิบาย: สภาพผู้ตกแต่ง ได้ชื่อว่าอภิสังขาร. บุญก็ดี บาปก็ดี 09,0015,009,เป็นผู้แต่งสัตว์ให้ดีบ้างเลวบ้างต่าง ๆ กัน จึงได้ชื่อว่าอภิสังขาร 09,0015,010,ละอย่าง ๆ. อเนญชา แปลว่าความไม่หวั่นไหว ได้แก่ความมั่น 09,0015,011,หรือธรรมชาติหาความหวั่นไหวมิได้ ได้แก่มั่น แสดงภูมิธรรมเพียง 09,0015,012,ชั้นสมาบัติก็มี ถึงโลกุดรก็ดี ในที่นี้ท่านแก้ว่าได้แก่อรูปสมาบัติ ๔ 09,0015,013,และสงเคราะห์รูปสมาบัติเข้าในปุญญาภิสังขาร เหมือนบุญอันเป็น 09,0015,014,กามาพจร. อเนญชาภิสังขาร ความยังไม่ชัด ข้าพเจ้าขอฝากนักธรรม 09,0015,015,ไว้พิจารณาด้วย*. อภิสังขารนี้ มาในนิทเทสแห่งสังขารศัพท์ใน 09,0015,016,อุทเทสแห่งปฏิจจสมุปบาท โดยนัยนี้ เป็นอันว่า ท่านหมายความ 09,0015,017,เป็นอันเดียวกัน.