Book,Page,LineNumber,Text 09,0007,001,อธิบาย: ความปฏิบัติไม่ได้เนื่องด้วยระเบียบอันทรงตั้งไว้ด้วย 09,0007,002,พุทธอาณา เป็นสิกขาบทหรืออภิสมาจาร เป็นทางนำความประพฤติ 09,0007,003,และอัธยาศัยให้ประณีตขึ้น จัดเป็นธรรม. ความปฏิบัติเนื่องด้วย 09,0007,004,ระเบียบอย่างนั้น เป็นทางนำความประพฤติให้สม่ำเสมอกัน หรือเป็น 09,0007,005,เครื่องบริหารคณะ จัดเป็นวินัย. 09,0007,006,รูป ๒ 09,0007,007,มหาภูตรูป รูปใหญ่ 09,0007,008,อุปาทายรูป รูปอาศัย. 09,0007,009,ขุ. ปฏิ. ๓๑/๒๗๕. ม. อุป. ๑๔/๗๕. 09,0007,010,อธิบาย: สิ่งอันเป็นวิสัยแห่งอายตนะภายใน ๕ ข้างต้น จัด 09,0007,011,เป็นรูปในเบญจขันธ์. สิ่งอันเป็นวิสัยของจักษุเท่านั้น จัดเป็นรูปใน 09,0007,012,อายตนะภายนอก. ธาตุ ๔ คือ ปฐวี อาโป เตโช วาโย จัดเป็น 09,0007,013,มหาภูตรูป. อาการของมหาภูตรูป จัดเป็นอุปาทายรูป. ประเภท 09,0007,014,แห่งอุปาทายรูป แสดงไว้ในพระอภิธัมมัตถสังคหะ คือประสาท ๕ 09,0007,015,"สิ่งที่ให้สำเร็จการเห็น เรียกจักขุปสาท ๑, สิ่งที่ให้สำเร็จการฟัง" 09,0007,016,"เรียกโสตปสาท ๑, สิ่งที่ให้สำเร็จการดม เรียกฆานปสาท ๑, สิ่งที่ให้" 09,0007,017,"สำเร็จการลิ้ม เรียกชิวหาปสาท ๑, สิ่งที่ให้สำเร็จการรู้สึกผัสสะ" 09,0007,018,"เรียกกายปสาท ๑, หรือเรียกสั้นเพียง จักขุ โสต ฆาน ชิวหา กาย" 09,0007,019,"โคจร (คืออารมณ์) ๕ รูปอันเป็นวิสัยแห่งจักขุ ๑, เสียง ๑, กลิ่น ๑," 09,0007,020,"รส ๑, โผฏฐัพพะ (ยกอาโปนับแต่ ๓) ๑. ภาวะ ๒ อิตถีภาวะ"