Book,Page,LineNumber,Text 50,0047,001,ถ. เพราะเหตุไร การดับกิเลสก็ดี การดับขันธ์ก็ดี จึงชื่อว่า 50,0047,002,นิพพานแต่ละอย่าง ๆ และนิพพานทั้ง ๒ อย่างนั้น เมื่อมุ่งโดยธรรมา- 50,0047,003,ธิษฐาน มีอธิบายอย่างไร ? 50,0047,004,ต. การดับกิเลสได้ชื่อว่านิพพานนั้น เพราะหมดพืชพันธุ์ อันจะ 50,0047,005,ผูกรัดให้เกิดในภพต่อไป การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏ ท่านจับ 50,0047,006,ต้นเค้าได้จากกิเลส เพราะกิเลสเป็นเหตุให้ทำกรรม ๆ ย่อมนำให้ได้ 50,0047,007,รับผลคือวิบาก ๆ คือความที่ได้รับผลนั่นแหละชักจูงให้ไปเกิดในภพ 50,0047,008,พระอริยเจ้าทั้งหลายท่านถอนมูลกิเลสได้สิ้นเชิง ด้วยอำนาจพระอรหัตต- 50,0047,009,มรรค ได้บรรลุพระอรหัตตผลแล้วก็ไม่มีเครื่องเกาะเกี่ยวผูกรัด ท่านละ 50,0047,010,ภพเสียได้ มิใช่ผู้ที่เจริญขึ้นในภพต่อไป ดังหมู่ไม้อาศัยรากจึงเป็นอยู่ 50,0047,011,และเจริญขึ้น เมื่อถูกถอนมูลรากขาดแล้ว ก็ย่อมย่อยยับไปไม่มี 50,0047,012,ทางเจริญได้อีก เหตุนี้ การดับกิเลสจึงชื่อว่านิพพาน. พระอรหันต์ 50,0047,013,ผู้ได้สอุปาทิเสสนิพพานแล้ว ก็ยังไม่พ้นออกไป จัดว่ายังเกาะเกี่ยว 50,0047,014,ผูกพันอยู่กับภพ เพราะยังทรงชีพอยู่ ต้องตกอยู่ในคติธรรมดาของ 50,0047,015,สังขาร เมื่อใดเบญจขันธ์ทำลายลง คือสิ้นชีพแล้ว จัดว่าดับสิ้นเชิงแล้ว 50,0047,016,เพราไม่มีอะไรจะหน่วงเหนี่ยวรัดดึงและไม่ถึงคติแห่งสังขารอีก เหตุ 50,0047,017,นี้ การดับขันธ์จึงชื่อว่านิพพาน. โดยธรรมาธิษฐานมีอธิบายอย่างนี้. 50,0047,018,ความสิ้นอาสวะ แต่จริมกจิตยังทรงอยู่กล่าวคือสำเร็จพระอรหัตเป็น 50,0047,019,สอุปาทิเสสนิพพาน ๆ ได้แก่พระอรหัตตผล. ครั้นจริมกจิตดับแล้ว 50,0047,020,"เป็นอนุปาทิเสสนิพพาน ๆ ได้แก่นิพพานธาตุ เรียกว่าอมตธรรม," 50,0047,021,อสังขตธรรม. 50,0047,022,ส. ป.