Book,Page,LineNumber,Text 41,0026,001,ถ. สามิสทุกข์กับนิรามิสทุกข์ เป็นอย่างไร ? 41,0026,002,ต. ทุกข์อิงอามิส คือกามคุณ เป็นสามิสทุกข์ ทุกข์ไม่อิงอามิส 41,0026,003,คืออิงเนกขัมมะ เป็นนิรามิสทุกข์ กล่าวโดยปุคคลาธิฏฐาน ทุกข์ 41,0026,004,กามโภคีบุคคล เป็นสามิสทุกข์ ทุกข์ของบรรพชิต เป็นนิรามิสทุกข์. 41,0026,005,๒๔๖๕ 41,0026,006,ถ. เพื่อประโยชน์ให้เกิดปราโมทย์ในนิรามิสสุข หรือสุขอย่าง 41,0026,007,แจ่มใสสำหรับผู้ต้องการ จงบริหารให้ทราบว่ากาม ๒ อย่างได้แก่อะไร 41,0026,008,และอธิบายจึงโทษพร้อมทั้งวิธีพ้นมาด้วย ? 41,0026,009,ต. กิเลสกาม ได้แก่กิเลสให้ใคร่ คือ ราคะ โลภะ อิจฉา 41,0026,010,ความอยากได้ อิสสา ความริษยาหรือความหึง อรติ ความไม่ 41,0026,011,ยินดีด้วยหรือความขึงเคียด อสันตุฏฐิ ความไม่สันโดษเป็นอาทิ มีโทษ 41,0026,012,คือทำให้ใจเร่าร้อนกระวนกระวาย ถ้าอดทนอยู่มิได้ก็ทำให้แสดงอาการ 41,0026,013,ไม่สุภาพ เป็นเหตุให้พระพฤติชั่วหยาบด้วยกาย วาจา ใจต่าง ๆ และ 41,0026,014,ชื่อว่าเป็นมาร เพราะอาจล้างผลาญคุณควรมดีหรือทำให้เสียคน วิธีพ้น 41,0026,015,คือสะกดใจอย่าให้ลุอำนาจแห่งกิเลสนั้น ๆ อันเกิดขึ้นแล้ว และสำรวม 41,0026,016,ระวังมิให้เกิดต่อไป. วัตถุถามได้แก่กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น 41,0026,017,รส โผฏฐัพพะ อันเป็นที่ปรารถนารักใคร่ชอบใจ มีโทษคือเป็นเครื่อง 41,0026,018,ยั่วยวนชวนให้เพลิดเพลินรื่นเริงพัวพันอยู่ ทำให้ผู้แม้รู้ให้มืดหน้าชักพา 41,0026,019,ไปสู่อำนาจอาจบังคับให้ทำตาม และชื่อว่าเป็นบ่วงแห่งมาร เพราะ 41,0026,020,อาจผูกใจให้ติดอยู่ วิธีพ้นคือพึงตัดอาลัยอย่าให้หมกมุ่นอยู่ในอารมณ์ 41,0026,021,นั้น ๆ ด้วยผ่อนผันหาโอกาสพรากกายใจให้ห่าง คำนึงในทางที่นำให้เกิด