Book,Page,LineNumber,Text 37,0015,001,( ๓ ) ไม่ใช่ถ้อยคำและสำนวนที่หยาบคาย. 37,0015,002,( ๔ ) ไม่ใช่ถ้อยคำและสำนวนที่ตลกคะนอง. 37,0015,003,( ๕ ) ไม่ใช้ถ้อยคำและสำนวนที่เป็นภาษาตลาด. 37,0015,004,( ๖ ) ต้องใช้ถ้อยคำและสำนวนที่ไพเราะสละสลวย. 37,0015,005,( ๗ ) ต้องใช้ถ้อยคำและสำนวนที่พอเหมาะพอดี. 37,0015,006,( ๘ ) ต้องใช้ธรรมให้สูงขึ้นไปโดยลำดับ. 37,0015,007,( ๙ ) ต้องใช้ศัพท์บ้างในที่ ๆ ควรใช้. 37,0015,008,สำหรับเรื่องนี้ มีหลักอยู่ว่า ถ้าการใช้ศัพท์นั้นเห็นว่าจะกินใจ 37,0015,009,ผู้ฟังมากกว่าใช้คำแปล จึงค่อยใช้ คือจงเทียบคุณค่าของคำดู คำใด 37,0015,010,ดีกว่าและเหมาะกว่า พึงใช้คำนั้น ถ้าไม่ดีกว่าไม่เหมาะกว่า อย่าใช้ 37,0015,011,"เลย ทำให้รุ่มร่ามรุงรังเปล่า ๆ ตัวอย่างเช่น "" เนตติ "" กับ "" แบบ" 37,0015,012,"อย่าง "" "" ทิฏฐานุคติ "" ดับ "" ตัวอย่าง "" "" อิฏฐารมณ์ "" กับ" 37,0015,013,""" อารมณ์น่าปรารถนา "" "" เบญจพิธกามคุณ "" กับ "" กามคุณ ๕ """ 37,0015,014,""" สัทธาปสาทะ "" กับ "" ความเชื่อความเลื่อมใส "" ฯ ล ฯ อนึ่ง เนื่อง" 37,0015,015,ด้วยทำนองเทศน์ เป็นทำนองที่ไม่ควรใช้ถ้อยคำและสำนวนที่ห้วน ๆ 37,0015,016,สั้น ๆ สำหรับในที่ควรจริง ๆ จะใช้ทั้งศัพท์ทั้งคำแปลบ้างก็ได้ เพื่อ 37,0015,017,ขยายความให้ยาวออกไป และก็เพื่อไพเราะและสละสลวยอีกส่วนหนึ่ง 37,0015,018,ด้วย แต่ต้องระวังให้จงดี. 37,0015,019,อนึ่ง ถ้าสามารถจะแต่งให้รับสัมผัสกันก็ได้ แต่ถ้าไม่สามารถ 37,0015,020,"ก็ไม่เป็นไร เพราะข้อนี้มิใช่เป็น "" กฎจำเป็น "" ถึงดังนั้นก็ไม่ควร" 37,0015,021,ละเลยเสียทีเดียว ควรฝึกฝนตามแต่จะได้เพียงไร เพราะสัมผัสเป็น