Book,Page,LineNumber,Text 23,0021,001,ในระหว่างจะอธิบาย โลภะ ดังในข้อ ๓๗. อิจฉา ดังในข้อ ๓๕. 23,0021,002,กับกามะ. โลภะ ความโลภ ความละโมบ เป็นอกุศลจิต 23,0021,003,พบมาในที่พร้อมกัน เช่น อิจฺฉาโลภสมาปนฺโน ท่านอธิบายต่าง 23,0021,004,กันว่า ความอยากได้ในอารมณ์ที่ยังไม่มาถึง ชื่ออิจฉา. ความละโมบ 23,0021,005,ในอารมณ์ที่มาถึงแล้ว ชื่อโลภะ. มัจฉริยะ ตระหนี่ หวง เป็น 23,0021,006,"อกุศล มี ๕ มัจฉริยะในอาวาส, ตระกูล ลาภ, วรรณะ, ธรรม," 23,0021,007,บ่นอยากได้ของที่ยังไม่มาถึง นี้อิจฉา. โลภในของที่มาถึงแล้ว นี้ 23,0021,008,โลภะ. หวงไม่ให้ใคร นี้มัจฉริยะ. 23,0021,009,กามะ ความปรารถนา ความใคร่ เป็นคำกลาง ๆ. ประกอบ 23,0021,010,เข้ากับส่วนดีก็มี ส่วนชั่วก็มี ดังในกระทู้ต่อ ๆ ไป กามกาโม ความ 23,0021,011,ใคร่ในกามารมณ์ ธมฺมกาโม ความใคร่ในธรรม ดังนี้. 23,0021,012,๓๘. อติโลโภ หิ ปาปโก. [ ๗๔ ] 23,0021,013,ความละโมบเป็นบาปแท้. 23,0021,014,ควรเก็บเอาข้อความในกระทู้ ๓๗-๔๐ มาอธิบาย. 23,0021,015,๓๙. นตฺถิ โมหสมํ ชาลํ. [ ๗๕ ] 23,0021,016,ข่ายเสมอด้วยโมหะไม่มี. 23,0021,017,ข่ายอันเป็นเครื่องดักสัตว์ หุ้มคลุมสัตว์ให้ติดอยู่ในนั้น ที่สุด 23,0021,018,ก็นายพรานมาจับไปขายหรือฆ่าเท่านั้น ข่ายคือโมหะนั้น ดักจิตให้ติดอยู่