Book,Page,LineNumber,Text 46,0026,001,"เหตุนั้น พึงทราบความว่า ""เหตุแห่งความเป็นผู้เกียจคร้าน."" ด้วยเหตุ " 46,0026,002,"นั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า "" โกสชฺชการณานีติ อตฺโถ. """ 46,0026,003,การงานเช่นนี้ สมควรแก่ภิกษุ ชื่อว่า การงาน เพราะฉะนั้น พระ 46,0026,004,"อรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ""จีวรวิจารณาทิ."" บทว่า วีริยํ ได้แก่ความ" 46,0026,005,เพียรที่เป็นประธาน. ก็ความเพียรนั้น ย่อมได้ซึ่งความเป็นคุณชาติอัน 46,0026,006,บัณฑิตพึงกล่าวว่า เป็นไปทางกายก็มี ในเพราะทำด้วยอำนาจการจงกรม 46,0026,007,เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า ทุวิธมฺปิ. บทว่า ปตฺติยา 46,0026,008,แปลว่า เพื่ออันถึง. ความท้อแท้ในการหมั่นประกอบภาวนา ชื่อว่า 46,0026,009,โอสีทนํ. กายใดหนักดุจน้ำอันถั่วราชมาสทั้งหลายสั่งสมคือหมักไว้เพราะ 46,0026,010,เหตุนั้น กายนั้นชื่อว่า เหมือนถั่วราชมาสอันชุ่ม. เพราะถั่วราชมาส 46,0026,011,ทั้งหลายชุ่มน้ำแล้ว ย่อมเป็นของหนักโดยวิเศษ ฉะนั้น พระอรรถ- 46,0026,012,"กถาจารย์ จึงกล่าวว่า "" ยถา ตินฺตมาโส "" เป็นต้น. สองบทว่า วุฏฺ€ิ-" 46,0026,013,โต โหติ อธิบาย ความไม่มีแห่งความไข้. บทว่า เตสํ คือ เหตุ 46,0026,014,ปรารภความเพียรทั้งหลาย. สองบทว่า อิมินา ว นเยน ความว่า 46,0026,015,โดยนัยนี้ คือ ตามที่กล่าวแล้วในเหตุของผู้เกียจคร้านนั่นแล. พึงทราบ 46,0026,016,"ความโดยนัยเป็นต้นว่า ""ภิกษุย่อมปรารภความเพียรแม้ทั้ง ๒ อย่าง""" 46,0026,017,"และโดยนัยเป็นต้นว่า"" สองบทว่า อิทํ ป€มํ ความว่า เหตุนี้ คือ" 46,0026,018,"ความขมักเขม้นในภาวนาอย่างนี้ว่า "" อย่ากระนั้นเลย เราจะปรารภ" 46,0026,019,"ความเพียร "" จัดเป็นเหตุปรารภความเพียรข้อที่ ๑."" จริงอยู่ ความ" 46,0026,020,ขมักเขม้นอันเป็นไปคราวแรกโดยประการใดประการหนึ่ง ย่อมเป็นเหตุ 46,0026,021,แห่งการปรารภความเพียรในคราวต่อไป ๆ ไป. เพราะความขมักเขม้น