Book,Page,LineNumber,Text 42,0022,001,กถาว่าด้วยศิลปะ* 42,0022,002,[๑๒๘] ความเป็นผู้ฉลาดในหัตถกรรมมี ๒ อย่าง ด้วย 42,0022,003,สามารถแห่งศิลปะของบรรพชิตและคฤหัสถ์ ชื่อว่าศิลปะ. 42,0022,004,[อนาคาริยศิลปะ] 42,0022,005,ในศิลปะ ๒ อย่างนั้น การตกแต่งสมณบริขาร มีการกะ 42,0022,006,และเย็บจีวรเป็นต้น ที่พระผู้มีพระภาคทรงพรรณนาไว้ในสัตตมสูตร 42,0022,007,"ทุติยวรรค แห่งทสกนิบาตอังคุตตรนิกาย อย่างนี้ว่า ""ภิกษุ" 42,0022,008,ทั้งหลาย ภิกษุในศาสนานี้ เป็นผู้ขยันไม่เกียจคร้าน ในการงานอะไรที่ 42,0022,009,จะพึงช่วยกันทำ ทั้งสูงทั้งต่ำ ของเพื่อนพรหมจารีด้วยกัน ประกอบ 42,0022,010,พร้อมด้วยปัญญาเครื่องสอบสวน อันเป็นอุบายในการงานที่จะพึงช่วย 42,0022,011,กันทำนั้น อาจทำ อาจจัดได้; ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเป็นผู้ขยัน ฯ ล ฯ 42,0022,012,"อาจจัดได้ แม้ใด; ธรรมแม้นี้ ชื่อว่านาถกรณธรรม "" ดังนี้ ชื่อว่า" 42,0022,013,ศิลปะของบรรพชิต. 42,0022,014,"[๑๒๙] อรรถกถาสัตตมสูตรนั้นว่า "" บรรดาบทเหล่านั้น" 42,0022,015,บทว่า อุจฺจาวจานิ แปลว่า สูงและต่ำ. การงานที่จะพึงออกปาก 42,0022,016,"อย่างนี้ว่า ""ข้าพเจ้าจะทำอะไร ? "" แล้วจึงทำ ชื่อว่าการงานที่จะพึง" 42,0022,017,ช่วยกันทำ. ในการงานที่สูงและต่ำนั้น การงานเป็นต้นอย่างนี้ คือ 42,0022,018,การทำ การย้อมจีวร กรรม (คือฉาบทา) ปูนขาวที่พระเจดีย์ 42,0022,019,การงานที่จะพึงทำในโรงอุโบสถ เรือนพระเจดีย์ และเรือนต้นโพธิ 42,0022,020, 42,0022,021,* พระมหาทองดำ จนฺทูปโม ป. ๗ (ปัจจุบันเป็นที่พระธรรมดิลก) วัดบรมนิวาส 42,0022,022,แปล ๑. องฺ. ทสก. ๒๔/๒๖ ๒. มโนรถปูรณี. ๓๖๕.