Book,Page,LineNumber,Text 42,0012,001,"ความแห่งธรรมที่ทรงไว้แล้ว, เมื่อเขาพิจารณาเนื้อความอยู่, ธรรม " 42,0012,002,"ทั้งหลายย่อมทนซึ่งความเพ่งพินิจ, เมื่อความทนซึ่งความเพ่งพินิจ " 42,0012,003,"แห่งธรรม มีอยู่, ความพอใจย่อมเกิด, เขาเกิดความพอใจแล้ว" 42,0012,004,"ย่อมอุตสาหะ, ครั้นอุตสาหะแล้ว ย่อมไตร่ตรอง, ครั้นไตร่ตรอง" 42,0012,005,"แล้ว ย่อมตั้งความเพียร, เขาเป็นผู้มีตนตั้งความเพียรแล้ว ย่อม" 42,0012,006,ทำปรมัตถสัจให้แจ้งด้วยกาย และย่อมเห็น (แจ้ง) แทงตลอด 42,0012,007,"ปรมัตถสัจนั้นด้วยปัญญา.""" 42,0012,008,บาลีในจังกีสูตร ปัญจมวรค มัชฌิมปัณณาสก์. 42,0012,009,"[๑๒๔] อรรถกถาแห่งจังกีสูตรนั้นว่า "" บทว่า ปยิรุปาสติ" 42,0012,010,คือนั่งในสำนัก. บทว่า โสตํ ได้แก่โสตประสาท. บทว่า ธมฺมํ 42,0012,011,หมายเอาเทศนาธรรม. บทว่า ธาเรติ ได้แก่ทรงจำทำให้ชำนาญ. 42,0012,012,บทว่า อุปปริกฺขติ ความว่า ย่อมพิจารณาโดยอรรถและโดยการณ์. 42,0012,013,"บทว่า นิชฺฌานํ คือย่อมทนซึ่งความสอดส่อง, อธิบายว่า ธรรม" 42,0012,014,"ทั้งหลายย่อมปรากฏอย่างนี้ว่า ""ศีลอันพระผู้มีพระภาคตรัสไว้แล้ว" 42,0012,015,"ในที่นี้ สมาธิอันพระองค์ตรัสไว้แล้วในที่นี้"" ดังนี้เป็นต้น. ความ" 42,0012,016,พอใจ คือความเป็นผู้ใคร่จะทำ ชื่อว่าความพอใจ. บทว่า อุสฺสหติ 42,0012,017,คือย่อมพยายาม. บทว่า ตุลยติ คือย่อมพิจารณาด้วยอำนาจ 42,0012,018,ไตรลักษณ์มีอนิจจลักษณะเป็นต้น. บทว่า ปทหติ คือ ย่อมเริ่มตั้ง 42,0012,019,ความเพียรอันนับเข้าในมรรค. คำว่า----กาเยน เจว ปรมตฺถสจฺจํ 42,0012,020,ความว่า ทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ด้วยสหชาตนามกาย และชำแรก 42,0012,021, 42,0012,022,๑. ม. ม. ๑๓/๖๐๕. ๒. ป. สู. ๓/๓๙๑.