Book,Page,LineNumber,Text
42,0002,001,"ชื่อว่า วาจา."" "
42,0002,002,"อรรถกถาแห่งรูปกัณฑ์๑ว่า "" สัททชาติใด อันเขาพูดกัน เหตุนั้น"
42,0002,003,สัททชาตินั้น ชื่อว่าวาจา. สัททชาติใด อันเขาเปล่ง เหตุนั้น
42,0002,004,สัททชาตินั้น ชื่อว่าวาจา. การเปล่งถ้อยคำ ชื่อว่าคำเป็นทาง.
42,0002,005,ถ้อยคำนั้นด้วย เป็นทางด้วย แห่งเหล่าชนผู้ประสงค์จะทราบเอง
42,0002,006,และประสงค์จะให้ผู้อื่นทราบเนื้อความ แม้เพราะเหตุนั้น ชื่อว่า
42,0002,007,"พฺยปโถ."" "
42,0002,008,"อรรถกถาแห่งมุ๒สาวาทสิกขาบทว่า ""คำเป็นทาง ชื่อว่า"
42,0002,009,พฺยปโถ. จริงอยู่ วาจาเท่านั้น เป็นทางของชนทั้งหลายผู้ถึง
42,0002,010,ทิฏฐานุคติ [คือเป็นตัวอย่าง] แม้ของชนเหล่าอื่น ท่านจึงเรียกว่า
42,0002,011,"พฺยปโถ."""
42,0002,012,อาเทศวาจาศัพท์เป็น พฺยในเพราะปถศัพท์หนปลาย ด้วยสูตร
42,0002,013,"ในสัททนีติปกรณ์ ตอนว่าด้วยสนธิกัปปะว่า "" วาจาย โพฺย ปเถ"
42,0002,014,"[แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย ในเพราะปถศัพท์] "" ก็ได้ ด้วยมหาพฤทธิ์"
42,0002,015,ก็ได้.
42,0002,016,"บทว่า เอตํ ความว่า "" เทพดา ท่านจงถือว่า 'พาหุสัจจะ ๑ "
42,0002,017,ศิลปะ ๑ วินัยที่ศึกษาดีแล้ว ๑ วาจาสุภาษิต ๑ กรรม ๔ อย่างนี้
42,0002,018,"เป็นมงคลอย่างสูงสุด"" ความสังเขปในคาถาที่ ๓ นี้ เท่านี้. ส่วน"
42,0002,019,ความพิสดารในคาถาที่ ๓ นี้ ดังต่อไปนี้ :-
42,0002,020,
42,0002,021,๑. อฏฺสาลินี ๔๗๒. ๒. สมนฺต. ๒/๒๘๓.