Book,Page,LineNumber,Text 13,0035,001,บทสัพพนาม 13,0035,002,๕. บทสัพพนามที่ใช้ในอรรถพิเศษ คือ :- 13,0035,003,กิริยาปรามาส 13,0035,004,บทว่า ยํ ซึ่งเป็นวิเสสนะในพากย์ โดยปกติวางไว้หน้าพากย์ 13,0035,005,ทำพากย์นั้นทั้งพากย์ให้มีความสัมพันธ์ เป็นประธานโดยเป็นโยคของ 13,0035,006,ต ศัพท์ในอีกพากย์หนึ่ง เรียกว่า กิริยาปรามสนํ บ้าง กิริยาปรามโส 13,0035,007,บ้าง กิริยาปรามาโส บ้าง อุ :- 13,0035,008,"อิธ โข ตํ ภิกฺขเว โสเภก, ยํ ตุมฺเห เอวํ สฺวากฺขาเต" 13,0035,009,ธมฺมวินเย ปพฺพชิตา สมานา ขมา ข ภวเยฺยาถ โสรตา จ. 13,0035,010,บทว่า ยสฺมา ซึ่งมีลักษณะเช่นนั้น ท่านเรียกว่า กิริยา- 13,0035,011,ปรามสนํ บทว่า ยโต ท่านก็เรียกบ้าง แต่มีห่าง ๆ. 13,0035,012,อธิบาย : [ ๑] ยํ กิริยาปรามาสนี้สังเกตได้ง่าย เพราะเรียง 13,0035,013,ไว้หน้าพากย์ และไม่เป็นวิเสสนะของนามบทให้บทหนึ่ง แต่เป็นวิเสสนะ 13,0035,014,ของพากย์ทั้งหมด จับตั้งแต่ต้นจนกิริยาในพากย์ทีเดียว จึงเรียกว่า 13,0035,015,กิริยาปรามาส ด้วยอรรถว่าลูบคลำหรือจับต้องถึงกิริยา. กิริยาปรามาสนี้ 13,0035,016,คล้ายกิริยาวิเสสนะ แต่ต่างกัน: กิริยาวิเสสนะ เป็นวิเสสะของเฉพาะ 13,0035,017,"กิริยา เช่น สุขํ เสติ. สุขํ แต่งเฉพาะกิริยาว่านอนเป็นสุข, ส่วน" 13,0035,018,"กิริยาปรามาส เป็นวิเสสนะของพากย์ทั้งพากย์ ไม่เฉพาะบทกิริยา, แต่" 13,0035,019,พากย์ทั้งปวง ย่อมมีกิริยาในพากย์ จึงตั้งชื่อยกกิริยา (ในพากย์ ) เป็น 13,0035,020,ที่ตั้งว่า กิริยาปรามาส และทำพากย์นั้นทั้งพากย์ให้มีความสัมพันธ์ เป็น