Book,Page,LineNumber,Text
13,0013,001,"ทฺวิตาลมตฺตํ ติตาลมตฺตนฺติ ปททฺวยํ สมฺปาปุณิยกมฺมํ, อิติ"
13,0013,002,สทฺเท สรูปํ. อิติสทฺโม เอวํสทฺเท อาทยตฺโถ.
13,0013,003,อุ. ที่ ๕
13,0013,004,ตทงฺควิมุตฺติยา วิกฺขมฺภนวิมุตฺติยา สมุจฺเฉทวิมุตฺติยา ปฏิ-
13,0013,005,ปสฺสทฺธิวิมุตฺติยา นิสฺสรณวิมุตฺติยา-ติ อิมาหิ ปญฺจหิ วิมุตฺตีหิ
13,0013,006,"วิมุตฺตานํ. [ โคธิกตฺเถรปรินิพฺพาน. ๓/๙๓ ] ""วิมุตแล้ว ด้วยวิมุตติ"
13,0013,007,๕ เหล่านี้ คือ ด้วยตทังควิมุตติ ด้วยวิกขัมภนวิมุตติ ด้วยสมุจเฉท-
13,0013,008,"วิมุตติ ด้วยปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ด้วยนิสสรณวิมุตติ."""
13,0013,009,"ตทงฺวิมุตฺติยา...นิสฺสรณวิมุตฺติยาติ ปญฺจปทํ กรณํ, อิติสทฺเท"
13,0013,010,"สรูปํ, อิติสทฺโท อิมาหีติ ปเท สรูปํ."
13,0013,011,[ ๒ ] สรูปนี้ ต่างจากวิเสสลาภี: วิเสสลาภี ยังบทที่มีอรรถกว้าง
13,0013,012,"ให้ได้อรรถพิเศษ คือมุ่งกำหนดอรรถพิเศษ, สรูปเป็นบทกำหนดโดย"
13,0013,013,"วิภาค. ว่าถึงสรูป, โดยมาก นิกเขปบท คือบทที่ยกขึ้นไว้ประกอบเป็น"
13,0013,014,"พหุวจนะ, บทวิภาคประกอบเป็นเอกวจนะ, แต่นิกเขปบทอาจประกอบ"
13,0013,015,"เป็นเอกวจนะตามวิธีผูกประโยคก็ได้, พึงเห็น อุ. เทียบกัน :-"
13,0013,016,อุ. ที่ ๑
13,0013,017,ทุวิโธ ปริฬาโห กายิโก จ เจตสิโก จ. [ ชีวิก. ๔/๕๙]
13,0013,018,"""ความเร่าร้อน ๒ อย่าง คือความเร่าร้อนเป็นไปทางกาย ๑ ความ"
13,0013,019,เร่าร้อนเป็นไปทางใจ ๑.
13,0013,020,กายิโกติ จ เจตสิโกติ จ ปททฺวยํ ทุวิโธ ปริฬาโหติ ปทสฺส
13,0013,021,สรูปวิเสสนํ.