Book,Page,LineNumber,Text 12,0039,001,สกัมมธาตุบ้าง ตามประสงค์ เช่น [ใช้กับอกัมมธาตุ ] สุขํ 12,0039,002,เสติ ที่แสดงแล้ว. [ ใช้กับสกัมมธาตุ ] ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺํ. 12,0039,003,[ จูเฬกสาฏก. ๕/๔ ] 'เพราะเมื่อบุคคลทำบุญช้า' เหตุฉะนั้น พึงเพ่งเล็ง 12,0039,004,ถึงอรรถที่ใช้เป็นสำคัญ. 12,0039,005,ข้อสังเกตท้ายข้อบททุติยาวิภัตติ 12,0039,006,ข้อว่า บทนามนามที่ประกอบด้วย ทุติยาวิภัตติ เข้ากับกิริยานั้น 12,0039,007,หมายความว่า เข้ากับกิริยาโดยมาก หรือเป็นต้น บางแห่งเข้ากับนามก็มี 12,0039,008,"อุ. เทฺว ตีณิ โยชนานิ อายตคมฺภีโร มโหโฆว, [วิฑูฑภ. ๓/๒๕ ]" 12,0039,009,ราวกะห้วงน้ำใหญ่ ทั้งกว้างทั้งลึก สิ้น ๒-๓ โยชน์.' 12,0039,010,การเข้ากับบทอื่นนอกจากกิริยาเช่นนี้ ควรใช้ในเมื่อมิใช่ที่จะเข้า 12,0039,011,กับกิริยา หรือในเมื่อมิใช่ที่จะเติมกิริยาเข้ามา. 12,0039,012,บทนามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัตติ 12,0039,013,(๑๕๒) บทนามนามที่ประกอบด้วยตติยาวิภัตติ ใช้ใน 12,0039,014,อรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยาบ้าง เข้ากับนามบ้าง เข้ากับอัพพยศัพท์- 12,0039,015,บ้าง ดังนี้ :- 12,0039,016,กรณ 12,0039,017,๑. เป็นวัตถุเครื่องทำ [ด้วย ] เรียกชื่อว่า กรณํ อุ. กาเยน 12,0039,018,กมฺมํ กโรติ. 12,0039,019,อธิบาย:- [ ๑ ] คำว่าวัตถุ หมายถึงทั้งรูปธรรมและนามธรรม 12,0039,020,เช่น คนฺธมาลาทิวตฺถูนิ วตฺถุตฺตยํ ปุญฺกิริยาวตฺถุ. ที่ชื่อว่า กรณ