Book,Page,LineNumber,Text
12,0037,001,เป็นชื่อของวัตถุ]. ลาภํ ลภติ 'ย่อมได้ซึงลาภ' [ ลาภํ เป็น กัมม-
12,0037,002,สาธนะ เป็นชื่อของปัจจัยวัตถุ]. หรือเป็นภาวสาธนะแต่ไม่ซ้ำธาตุ
12,0037,003,กัน ก็ไม่ชื่อว่า ซ้ำกับกิริยาข้างหลัง ไม่เป็นกิริยาวิเสสนดุจเดียวกัน
12,0037,004,อุ. เฉทนํ อกาสิ 'ได้ทำซึ่งการตัด.' ทั้งนี้ เพราะที่ซ้ำแต่ธาตุ มิใช่
12,0037,005,ภาวสาธนะ ย่อมเป็นชื่อของวัตถุเป็นต้น จึงใช้อรรถอื่น เช่น
12,0037,006,ทานํ ใน อุ. ที่แสดงแล้ว. ส่วนที่เป็นภาวสาธนะ ย่อมบอกกิริยาอาการ
12,0037,007,และกิริยาข้างหลัง ก็แสดงกิริยาเหมือนกัน จึงชื่อว่าซ้ำกันจริง ทั้งธาตุ
12,0037,008,ทั้งความ เป็นกิริยาวิเสสนแท้. สำหรับที่ไม่ซ้ำธาตุกัน ทั้งใช้ใน
12,0037,009,อรรถอื่น ไม่ต้องกล่าวถึง.
12,0037,010,บท ทุติยาวิภัตติที่ซ้ำกับกิริยาข้างหลัง บางบทชวนใช้ใน
12,0037,011,อรรถอื่น อุ. ปุถุชฺชนกาลกิริยํ กตฺวา [ เปสการธีตุ. (๖/๔๒] ชวน
12,0037,012,ให้เอา กิริยํ เป็นอวุตตกัมม แต่ กิริยํ เป็นภาวสาธนะ ปุถุชฺชน-
12,0037,013,กาลกิริยํ จึงเป็นกิริยาวิเสสน [ ทำกาลกิริยาแห่งปุถุชน หรือทำกาล
12,0037,014,แห่งปุถุชน กาลกิริยํ กตฺวา=กาลํ กตฺวา ] . ทั้งนี้ เว้นแต่จะ
12,0037,015,ใช้หมายถึงสภาพอย่างหนึ่ง ดังที่จะกล่าวในต่อไป. จรถ ภิกฺขเว
12,0037,016,จาริกํ [ สญฺชน. ๑/๘๒ ] ' ภิกษุทั้งหลาย ท่าน ท. จงเที่ยวจาริกไป.'
12,0037,017,จาริกํ เป็นกิริยาวิเสสนใน จรถ.
12,0037,018,ศัพท์นามกิตก์ที่ใช้ในอรรถซ้ำกับกิริยาข้างหลังเช่นนี้ ประกอบ
12,0037,019,ด้วย ตติยาวิภัตติก็มี พึงดูในข้อที่ว่าด้วยตติยาวิเสสนใน ตติยาวิภัตติ.
12,0037,020,อนึ่ง พึงทราบว่า แม้บทกิริยาวิเสสนใน อุ. ที่แสดงแล้ว ถ้า
12,0037,021,ในที่อื่นใช้ในอรรถอื่น นอกจากกิริยาอาการดังกล่าวแล้ว ก็มิใช่