Book,Page,LineNumber,Text 12,0012,001,พากย์ 12,0012,002,๓. หลายบทหรือหลายพากยางค์ ผสมให้เป็นใจความ 12,0012,003,ได้เต็มที่ เรียกว่า พากย์ เช่น ปุตฺโต มาตาปิตเรสุ สมฺมา 12,0012,004,ปฏิปชฺชนฺโต ปสํสํ ลภติ เป็นตัวอย่าง ตอนมีกิริยาอาขยาต 12,0012,005,หนึ่ง ๆ นับเป็นพากย์หนึ่ง ๆ. 12,0012,006,อธิบาย [๑] ข้อว่า เป็นใจความได้เต็มที่นั้น หมายความว่า 12,0012,007,เต็มที่ตามวิธีไวยากรณ์ โดยย่อ คือ มีประธานมีกิริยาคุมพากย์. โย 12,0012,008,นัยนี้ พากย์หนึ่ง จึงอาจประกอบขึ้นด้วยหลายบท คือไม่มากถึง 12,0012,009,แบ่งเป็นพากยางค์ก็มี อุ. อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ. [ จูเฬกสาฏก. ๕/๔ ] 12,0012,010,บุคคลพึงรีบทำความดี. แม้ด้วย ๒ บทก็มี อุ. มหาชโน สนฺนิปติ. 12,0012,011,[ มฏฺ€กุณฺฑลี. ๑/๓๓ ] มหาชนประชุมกันแล้ว. และประกอบขึ้น 12,0012,012,ด้วยหลายพากยางค์ เป็นพากย์ยาว ๆ ก็มี เช่น สตฺถา คนฺธกุฏิยํ 12,0012,013,นิสินฺโน ว ฯ เป ฯ สุโข ปุญฺสฺส อุจฺจโยติ. [ ลาชเทวธีตา. ๕/๙ ] 12,0012,014,ที่ยกมาไว้เพียง นิสินฺโนว ในข้อก่อน. 12,0012,015,อนึ่ง ประกอบขึ้นด้วยพากยางค์เดียว [ เป็น ๒ ตอนทั้งพากย์ ] 12,0012,016,ก็มี เช่น อุ. ในแบบซึ่งแปลว่า บุตรปฏิบัติชอบในมารดาบิดา ย่อม 12,0012,017,ได้สรรเสริญ. ทั้งนี้เพราะเมื่อมีประธาน มีกิริยาคุมพากย์ แม้ ๒ 12,0012,018,บทเท่านั้น ก็จัดว่ามีใจความเต็มที่เป็นพากย์ได้ ตามๆวยากรณ์แล้ว 12,0012,019,เพราะเหตุนี้ พากย์หนึ่งจึงยาวบ้างสั้นบ้าง ตามความในตอนนั้น ๆ. 12,0012,020,[๒] ข้อว่า ตอนกิริยาอาขยาตหนึ่ง ๆ นับเป็นพากย์หนึ่ง ๆ 12,0012,021,นั้น แสดงไว้เป็นนิทัสสนะ เพราะมุ่งที่เป็นไปโดยมาก แต่ตอนมี