Book,Page,LineNumber,Text
11,0038,001,๓. แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุเป็นอย่างอื่นได้
11,0038,002,๔. ลง อิ อาคมหลังธาตุได้บ้าง.
11,0038,003,๕. ธาตุตัวเดียวที่เป็นสระยาวคงไว้.
11,0038,004,๑. ให้ลบที่สุดธาตุได้ คือ ธาตุที่มี ๒ ตัว พยัญชนะตัวหลัง
11,0038,005,เมื่อนำมาลงปัจจัยนี้ให้ลบเสีย แล้วซ้อน ต เข้ามาตัวหนึ่ง ซึ่งเป็น
11,0038,006,"พยัญชนะในวรรคเดียวกันตามหลักสนธิ เช่น วตฺตุ, ขตฺตุ เป็นต้น"
11,0038,007,วตฺตุ เป็น วทฺ ธาตุ ลง ตุ ปัจจัย แล้วคงไว้ ลบ ทฺ ที่สุดธาตุ ซ้อน ตฺ
11,0038,008,เข้าข้างหน้า ตุ. วิ. ว่า วทติ-ตี วตฺตา. (ชนใด) ย่อมกล่า
11,0038,009,เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้กล่าว. ขตฺตุ เป็น ขนฺ ธาตุ ลง ตุ แล้ว
11,0038,010,คงไว้ ลบ นฺ ที่สุดธาตุ ซ้อน ตฺ วิ. ว่า ขนตี-ติ ขตฺตา (ชนใด)
11,0038,011,ย่อมขุด เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่าผู้ขุด. ๒ นี้เข้ากับปฐมาวิภัตติ
11,0038,012,"เอกวจนะแห่งนามเป็น วตฺตา ขตฺตา โดยวิธีนาม (๖๖), เป็นกัตตุ-"
11,0038,013,รูป กัตตุสาธนะ.
11,0038,014,"๒. พฤทธิ์สระต้นธาตุได้ เช่น โสตุ, เนตุ โสตุ เป็น สุ ธาตุ"
11,0038,015,ลง ตุ ปัจจัยแล้วคงไว้ พฤทธิ์ อุ ที่ สุ เป็น โอ. วิ. ว่า สุณาตี-ติ
11,0038,016,โสตา. (ชนใด) ย่อมฟัง เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่าผู้ฟัง. เนตุ
11,0038,017,เป็น นี ธาตุ ลง ตุ แล้วคงไว้ พฤทธิ์ อี ที่ นี เป็น เอ. วิ. ว่า เนตี-ติ
11,0038,018,เนตา (ชนใด) ย่อมนำไป เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ผู้นำไป
11,0038,019,๒ นี้ เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ.
11,0038,020,๓. แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุได้ คือ ให้แปลงได้เฉพาะ