Book,Page,LineNumber,Text
11,0032,001,(ชนนั้น) ชื่อว่า สุภาสิตภาสี (ผู้มีการกล่าวซึ่งคำอันเป็นสุภาษิต
11,0032,002,เป็นปกติ).
11,0032,003,ข. ต้นธาตุมีพยัญชนะสังโยค เช่น วาจานุรกฺขี วาจา (วาจา)
11,0032,004,บทหน้า รกฺข ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไว้แต่ ี ตั้ง. วิ. ว่า วาจํ
11,0032,005,อนุรกฺขติ สีเลนา--ติ วาจานุรกฺขี . (ชนใด) ย่อมตนรักษา ซึ่งวาจา
11,0032,006,โดยปกติ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า วานานุรกฺขี (ผู้ตามรักษา
11,0032,007,ซึ่งวาจาโดยปกติ ). หรือตั้งเป็นสมาสรูปตัสสีลสาธนะว่า วาจํ
11,0032,008,อนุรกฺขิตุํ สีลมสฺสา-ติ วาจานุรกฺขี การตามรักษา ซึ่งวาจา เป็น
11,0032,009,ปกติ ของชนนั้น เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า วาจานุรกฺขี (ผู้มีการ
11,0032,010,ตามรักษาซึ่งวาจาเป็นปกติ.)
11,0032,011,๓. มีอำนาจให้แปลงตัวธาตุ หรือพยัญชนะที่สุดธาตุได้
11,0032,012,หมายความว่า เมื่อธาตุเดิมเป็นเช่นไร ไม่คงไว้ตามรูปเดิม แต่
11,0032,013,แปลงให้ผิดจากรูปแห่งธาตุเดิมไปเสีย เช่น ภยทสฺสี (ผู้เห็นซึ่งภัย
11,0032,014,โดยปกติ) เดิมเป็น ภย (ภัย) บทหน้า ทิสฺ ธาตุ แปลง ทิสฺ เป็น
11,0032,015,"ทสฺส, ปาณฆาตี (ผู้ฆ่าซึ่งสัตว์โดยปกติ) เดิมเป็น ปาณ (สัตว์)"
11,0032,016,บทหน้า หนฺ ธาตุ แปลง หนฺ เป็น ฆาตฺ แต่การแปลธาตุเช่นนี้
11,0032,017,แม้ในอาขยาตก็มีอำนาจแปลงได้เช่นเดียวกัน ภยทสฺสี ตั้ง วิ. ว่า
11,0032,018,ภยํ ทิสฺสติ สีเลนา-ติ ภยทสฺสี. (ชนใด) ย่อมเห็น ซึ่งภัย โดยปกติ
11,0032,019,เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า ภยทสฺสี (ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ).
11,0032,020,ปาณฆาตี ตั้ง วิ. ว่า ปาณํ หนติ สีเลนา-ติ ปาณฆาตี.