Book,Page,LineNumber,Text 11,0029,001,พึงสังเกตในบทนี้สำหรับ วิทฺ ธาตุ ในเวลาตั้งวิเคราะห์ ท่านมัก 11,0029,002,ใช้ า ธาตุ มี วิ เป็นบทหน้าแทน ซึ่งแปลว่า รู้แจ้ง เหมือนกัน. 11,0029,003,ปัจจัยนี้เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ และใช้เป็นคุณนามอย่างเดียว 11,0029,004,นำไปแจกในวิภัตตินามได้ทั้ง ๒ ลิงค์ เปลี่ยนแปลงไปตามตัวนาม 11,0029,005,นามนั้น ๆ. 11,0029,006,ณี ปัจจัย 11,0029,007,ปัจจัยนี้ลงประกอบกับธาตุแล้ว ลบ ณ เสีย เหลือไว้แต่ 11,0029,008,สระ ี และมีอำนาจให้ทีฆะและพฤทธิ์ต้นธาตุที่เป็นรัสสะ เพราะเป็น 11,0029,009,ปัจจัยที่เนื่องด้วย ณ เมื่อจะกล่าวตามหลักเกณฑ์ของปัจจัยนี้ ก็อาจ 11,0029,010,จะย่อมกล่าวได้ดังนี้ คือ :- 11,0029,011,๑. ต้นธาตุเป็นรัสสะ มีอำนาจพฤทธิ์ต้นธาตุได้. 11,0029,012,๒. ต้นธาตุเป็นทีฆะ หรือ มีตัวสะกด ห้ามมิให้พฤทธิ์. 11,0029,013,๓. มีอำนาจให้แปลงตัวธาตุ หรือ พยัญชนะที่สุดธาตุได้. 11,0029,014,๔. ถ้าธาตุมี อา เป็นที่สุด ต้องแปลงเป็น อาย. 11,0029,015,อนึ่ง ปัจจัยนี้โดยมากใช้ลงในตัสสีลสาธนะ และเป็นสมาสรูป 11,0029,016,ตัสสีลสาธนะได้ด้วย. 11,0029,017,๑. พฤทธิ์ต้นธาตุที่เป็นรัสสะ นั้น คือ ถ้าธาตุเป็นรัสสะ เช่น 11,0029,018,"วทฺ, กรฺ, จรฺ เป็นต้น เมื่อลง ณี ปัจจัยแล้ว ต้องพฤทธิ์ต้นธาตุ เช่น" 11,0029,019,"พฤทธิ์ อ เป็น อา, อิ เป็น เอ, อุ เป็น อุ หรือเป็น โอ." 11,0029,020,ก. พฤทธิ์ อ เป็น อา เช่น ปุญฺการี ปุฺ (บุญ) บทหน้า 11,0029,021,กรฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไว้แต่ ี แล้วพฤทธิ์ อ เป็น อา ตั้ง