Book,Page,LineNumber,Text 10,0050,001,๑. กัตตุวาจก บ่งผู้ทำ ยกขึ้นเป็นประธานในประโยค. 10,0050,002,๒. กัมมาวาจก บ่งผู้ถูกทำ ยกขึ้นเป็นประธานในประโยค. 10,0050,003,๓. ภาววาจก บ่งเพียงความมีความเป็น ไม่มีตัวประธาน. 10,0050,004,๔. เหตุกัตตุวาจก บ่งผู้ใช้ให้ทำ ยกขึ้นเป็นประธานใน 10,0050,005,ประโยค. 10,0050,006,๕. เหตุกัมมาวาจก บ่งผู้ที่ถูกเขาใช้ให้ทำ ยกขึ้นเป็นประธาน 10,0050,007,ในประโยค. 10,0050,008,วาจกเหล่านี้ ผู้ศึกษาจะสังเกตให้ทราบได้แน่ชัดว่าเป็นวาจก 10,0050,009,อะไร ต้องอาศัยปัจจัยซึ่งท่านจัดไว้ประจำหมวดของ วาจก นั้น ๆ 10,0050,010,เป็นเครื่องบ่งให้ทราบ. 10,0050,011,๑. กัตตุวาจก 10,0050,012,กิริยาศัพท์ใดกล่าวผู้ทำ คือยกผู้ว่าขึ้นเป็นประธานในประโยค 10,0050,013,แสดงว่า ตัวที่เป็นประธานในประโยคนั้นเป็นผู้ทำเอง และกิริยาที่คุม 10,0050,014,พากย์เป็นของผู้ทำนั้น กิริยาศัพท์นั้นเป็นกัตตุวาจก กิริยาศัพท์ 10,0050,015,"ในวาจกนี้ ใช้ประกอบด้วยปัจจัย ๑๐ คือ อ, เอ, ย, ณุ, ณา, นา," 10,0050,016,"ณฺหา, โอ, เณ, ณฺย. ตัวใดตัวหนึ่ง และวิภัตติก็มักใช้ประกอบด้วย" 10,0050,017,วิภัตติฝ่ายปรัสสบทเป็นส่วนมาก (ฝ่ายอัตตโนบทก็มีบ้าง แต่มีเป็น 10,0050,018,ส่วนน้อย) เช่น อุ. ว่า สิสฺโส สิปฺปํ สิกฺขติ ศิษย์ศึกษาอยู่ซึ่ง 10,0050,019,ศิลปะ. ในที่นี้ สิกฺขติ (ศึกษาอยู่) เป็นกัตตุวาจก เพราะประกอบ 10,0050,020,ด้วย อ ปัจจัย ติ วิภัตติ บ่งตนเองว่าเป็นกิริยาของ สิสฺโส (ศิษย์) 10,0050,021,ซึ่งเป็นบทประธานในประโยค ด้วยมีปัจจัยแลวิภัตตินั้นเป็นเครื่อง