Book,Page,LineNumber,Text 10,0025,001,"""และ"" หรือมิได้ประกอบก็ตาม ต้องประกอบกิริยานั้นเป็น " 10,0025,002,พหุวจนะเสมอ เพราะ จ ศัพท์ เป็นคำที่แสดงรวม ไม่ได้แยกเป็น 10,0025,003,"คน ๆ หรือสิ่ง ๆ เหมือน วา ศัพท์ ซึ่งแปลว่า ""หรือ"" ซึ่งแสดง" 10,0025,004,ว่าแยกเป็นคนละส่วน ฉะนั้น กิริยาศัพท์ของประธานที่ประกอบด้วย 10,0025,005,วา ศัพท์ ซึ่งเป็นเอกวจนะ ถึงแม้ว่าหลายตัว ก็คงเป็นเอกวจนะ 10,0025,006,อยู่นั่นเอง ไม่เปลี่ยนแปลงเหมือน จ ศัพท์ ดังจะยกอุทาหรณ์เปรียบ 10,0025,007,เทียบดังต่อไปนี้ :- 10,0025,008,เทสนาวสาเน อุปาสโก จ สา จ อิตฺถี โสตาปตฺติผเล 10,0025,009,ปติฏฺ€หึสุ ในกาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา อุบาสกด้วย หญิงนั้นด้วย 10,0025,010,ดำรงอยู่แล้วในโสดาปัตติผล. นี้หมายความรวมทั้ง ๒ คน คือ อุบาสก 10,0025,011,และหญิงนั้น จึงต้องใช้กิริยาเป็น พหุวจนะ. 10,0025,012,ภิกฺขุํ ปเนว อุทฺทิสฺส ราชา วา ราชโภคฺโว วา พฺราหฺมโณ วา 10,0025,013,คหปติโก วา ทูเตน จีวรเจตาปนํ ปหิเณยฺย อนึ่ง พระราชา หรือ 10,0025,014,ราชอมาตย์ พราหมณ์ หรือ คฤหบดี พึงส่งซึ่งทรัพย์สำหรับจ่าย 10,0025,015,จีวรไปด้วยทูตเจาะจงภิกษุ. นี้มิได้หมายความรวม แต่หมายคนใด 10,0025,016,คนหนึ่งในคนที่กล่าวถึงเหล่านั้น จึงต้องใช้กิริยาเป็น เอกวจนะ. 10,0025,017,กิริยาศัพท์ที่ตายตัว 10,0025,018,มีกิริยาศัพท์บางตัวที่คงรูปตายตัวเป็นเอกวจนะอยู่เสมอ ไม่มี 10,0025,019,เปลี่ยนแปลง ถึงแม้ตัวประธานนั้นจะเป็นพหุวจนะก็ตาม กิริยาศัพท์ 10,0025,020,นี้ได้แก่ อตฺถิ (มีอยู่) และนตฺถิ (ย่อมไม่มี) ซึ่งเป็นพวก อสฺ ธาตุ 10,0025,021,ประกอบด้วย ติ วิภัตติ เอกวจนะ แปลง ติ เป็น ตฺถิ จึงสำเร็จรูป