Book,Page,LineNumber,Text 08,0015,001,วิภัตตินามกับวิภัตติอาขยาตเหมือนกันโดยชื่อก็จริง แต่มีความ 08,0015,002,หมายต่างกัน คือวิภัตตินามเมื่อลงที่ท้ายศัพท์เป็นเครื่องหมาย ลิงค์ 08,0015,003,วจนะ และอายตนิบาต เพื่อบอกให้รู้ว่าเป็นลิงค์อะไร วจนะอะไร 08,0015,004,และจะใช้อายตนิบาตไหนจะเหมาะกัน วิภัตติอาขยาย เมื่อลงที่ท้ายธาตุ 08,0015,005,เป็นเครื่องหมาย กาล บท วจนะ บุรุษ วาจก และปัจจัย ทั้งนี้ 08,0015,006,เพื่อส่องเนื้อความให้ชัดเจนขึ้นกว่าปกติ. 08,0015,007,การันต์ 08,0015,008,คำนี้ได้แก่สระที่สุดอักษรหรือที่สุดศัพท์ คำว่า อะ การันต์คือ 08,0015,009,สระที่ท้ายศัพท์มีเสียงปรากฏเป็น อะ เช่น ปุริสะ กุละ เป็นต้น แม้ 08,0015,010,คำว่า อิ การันต์ จนถึง อู การันต์ก็นัยนี้ บาลีภาษานิยมว่า สระ ต้อง 08,0015,011,อยู่หลังพยัญชนะ ทำให้พยัญชนะต้องออกเสียงไปตาม เวลาเขียนเป็น 08,0015,012,อักษรไทยทุกวันนี้ สระอะเมื่อลงท้ายพยัญชนะ ไม่ต้องเขียนไว้ เป็น 08,0015,013,อันเข้าใจกันได้ว่ามีเสียง อะ อย่าง ปุริสะ ก็คงมีสระอะอยู่หลังนั่นเอง. 08,0015,014,ในนามนามและคุณนามนั้นท่านจัดการันต์ตามแบบที่ใช้สาธารณะ 08,0015,015,ทั่วไปมากนั้น ดังนี้ :- 08,0015,016,ปุํลิงค์มีการันต์ ๕ คือ อ. อิ. อี. อุ. อู. 08,0015,017,อิตถีลิงค์มีการันต์ ๕ คือ อา. อิ. อี. อุ. อู. 08,0015,018,นปูํสกลิงค์มีการันต์ ๓ คือ อ. อิ. อุ. 08,0015,019,โค ศัพท์ ท่านว่าเป็น โอ การันต์ ในปุํลิงค์และนปุํลิงค์ ศัพท์ 08,0015,020,ทั้งหลายว่าด้วยการันต์ พึงสังเกตการันต์อันพ้องกันหรือพวกกติปยศัพท์ 08,0015,021,ซึ่งมีการันต์พ้องกันกับสาธารณาการันต์ พึงพิจารณาว่าศัพท์ไหนเป็น