Book,Page,LineNumber,Text 08,0011,001,ปุริโส เทสนฺตรํ ตณฺหารชฺชุมา พนฺธํ สตฺตสนฺตานํ อภิสงฺขาโณ 08,0011,002,ภวนฺตรํ เสิ อาตายาติ ภวเนตฺติ อภิสังขาร ย่อมนำสันดานแห่งสัตว์ 08,0011,003,ที่ตนผูกไว้ด้วยเชือกคือตัณหาไปสู่ภพอื่นด้วยตัณหานั้น เหมือนบุรุษ 08,0011,004,มีเชือกในมือ นำนกที่ตนผูกแล้วด้วยเชือยาวไปสู่ประเทศอื่น เหตุนั้น 08,0011,005,ตัณหานั่นจึงชื่อว่าภวเนตติ. จึงน่าจะสันนิษฐานว่าศัพท์ที่เป็นลิงค์โดย 08,0011,006,กำเนิดจะไม่สมมติให้เป็นลิงค์อื่นก็ได้ คือคงไว้ตามภาวะเดิม คำว่า รชฺชุ 08,0011,007,แท้จริงก็เป็นนปุํสกลิงค์โดยกำเนิด แต่ท่านสมมติให้เป็นอิตถีลิงค์ ส่วน 08,0011,008,ในอุทาหรณ์ที่ยกมานั้นส่อให้เห็นว่าหาเป็นไปตามสมมติไม่ คือเป็น 08,0011,009,รชฺชุนา แจกตามแบบ นปุํ. ยุกติอย่างไรขอนักบาลีพิจารณาดูเถิด. 08,0011,010,วจนะ 08,0011,011,สิ่งทั้งปวงที่ผู้พูดกล่าวถึงมากบ้างน้อยบ้างเป็นธรรมดา เพื่อจะให้ 08,0011,012,ผู้ฟังเข้าใจเนื้อความและจำนวนมากน้อย ท่าจึงบัญญัติวจนะไว้โดยทั่ว 08,0011,013,ไปเป็น ๒ เว้นแต่พวก ภควนฺตุ ศัพท์ แบ่งเป็น ๓ วจนะ ดังกล่าว 08,0011,014,ข้างหน้า คำพูดที่มุ่งหมายเอาของสิ่งเดียวหรือบุคคลผู้เดียว เรียกเอก- 08,0011,015,วจนะ ถ้ามุ่งหมายตรงกันข้ามคือหมายเอาของหลายสิ่งหรือบุคคลหลาย 08,0011,016,คนตั้งแต่ ๒ ขึ้นไปเรียกว่าพหุวจนะ เช่น ปุริโส ชายคนเดียว เป็น 08,0011,017,เอกวจนะ ปุริสา ชายหลายคน เป็นพหุวจนะ. 08,0011,018,การกำหนดรู้เอกวจนะและพหุวจนะนี้ ท่านให้กำหนดที่สุดของ 08,0011,019,ศัพท์ เพราะที่สุดศัพท์นั้นจะบอกให้รู้ว่าเป็นวจนะอะไร แต่มีศัพท์ 08,0011,020,ที่ทำให้กำหนดยาก เพราะเอกวจนะกับพหุวจนะมีรูปเหมือนกัน เช่น 08,0011,021,เสฏฺ€ี อาจเป็นได้ ๒ วจนะ แต่มีสังเกตเพื่อให้รู้ได้ คือให้กำหนด