Book,Page,LineNumber,Text 05,0245,001,"ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ. แม้ถึง หิ, จ, ปน ที่ไม่มีความ " 05,0245,002,อะไร ก็เรียกว่า ปทปูรณ. 05,0245,003,สมวายนิบาต 05,0245,004,๕. นิบาตที่ใช้แสดงนามบ้าง กิริยาบ้าง ที่พร้อมกัน เรียกชื่อ 05,0245,005,ว่า สมวาโย ตรงต่อนิบาตไทยว่า พร้อม. นิบาตพวกนี้ใช้ ๒ ศัพท์ คือ 05,0245,006,"สทฺธึ, สห; เข้ากับนาม เรียกชื่อว่า ทพฺพสมวาโย. เข้ากับกิริยา" 05,0245,007,เรียกชื่อว่า กิริยาสมวาโย. อุ. (ทัพพ) เอกํ สมยํ ภควา 05,0245,008,เวรญฺชายํ วิหรติ นเฬรุปุจิมนฺทมูเล มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ 05,0245,009,(กิริยา) สหาปิ คคฺเคน สงฺโฆ อุโปสถํ กเรยฺย. 05,0245,010,ปฏิเสธนิบาต 05,0245,011,"๖. นิบาตที่ใช้ห้าม เรียกชื่อว่า ปฏิเสโธ, นิบาตพวกนี้ใช้ น," 05,0245,012,"โน, มา, เป็นพื้น. อุ. สนฺติ ตาณา. โน เหตํ ภนฺเต. มาสฺสุ" 05,0245,013,พาเลหิ สงฺคญฺฉิ. 05,0245,014,อิติศัพท์ 05,0245,015,๗. อิติศัพท์ ได้ชื่อต่างตามลักษณะ ดังนี้:- 05,0245,016,ก. ถ้าอมข้อความที่เป็นพากย์ไว้เต็มที่ มีความเกี่ยวเนื่องกับ 05,0245,017,"บทกิริยา เรียกชื่อว่า อากาโร. อุ. อิธ วสฺสํ วสิสฺสามิ, อิธ" 05,0245,018,"เหมนฺตคิมฺหิสุ. อิติ พาโล วิจินฺเตติ, อนฺตรายํ น พุชฺฌติ."