Book,Page,LineNumber,Text 05,0242,001,สัมปฏิจฉนัตถนิบาต 05,0242,002,๓. นิบาตนี้ใช้รับคำถาม เรียกชื่อว่า สมฺปฏิจฺฉนตฺโถ. นิบาต 05,0242,003,"นี้ใช้ อาม เป็นพื้น, ใช้ อามนฺตา แต่ในพระอภิธรรม, ตรง" 05,0242,004,"นิบาตไทยว่า ขอรับ, จ้ะ, เออ, เป็นต้น ตามคำสูง คำเสมอ" 05,0242,005,คำต่ำ. อุ. ปสฺสถ ภนฺเต ? อาม อาวุโส ปสฺสามิ. เย เกจิ 05,0242,006,"กุสลา ธมฺมา, สพฺเพเต กุสลา ? อามนฺตา. ใช้ เอวํ บ้าง ก็มี" 05,0242,007,อุ. เอวํ ภนฺเต. 05,0242,008,อุยโยชนัตถนิบาต 05,0242,009,"๔. นิบาตที่ใช้ในคำยอม, คำเตือน, คำชักชวน, คำใช้ให้ทำ." 05,0242,010,"เรียกชื่อว่า อุยฺโยชนตฺโถ, ตรงต่อนิบาตไทยว่า เชิญเถิด, เอาเถิด," 05,0242,011,"เอาสิ, ถ้าอย่างนั้น. นิบาตพวกนี้ ๔ ศัพท์ คือ อิงฺฆ, ตคฺฆ, หนฺท," 05,0242,012,เตนหิ. (ศัพท์หลังนี้ เรียกว่า วิภตฺติปฏิรูปโก เพราะมีรูปแม้นศัพท์ 05,0242,013,ที่ประกอบด้วยวิภัตตินาม.) อุ. อิงฺฆ ภนฺเต สราเปหิ. ตคฺฆ ตฺวํ 05,0242,014,อาวุโส อจฺจโย อจฺจคมา. หนฺท มยํ อาวุโส ธมฺมญฺจ วินยญฺจ 05,0242,015,สงฺคาเยยฺยาม. เตนหิ เถโร ภิกฺขู อุจฺจินตุ. 05,0242,016,อัจฉริยัตถ และ สังเวคัตถนิบาต 05,0242,017,๕. นิบาตที่ใช้ในคำแสดงความหลากใจ เบิกบานใจ เรียกชื่อ 05,0242,018,"ว่า อจฺฉริยตฺโถ, ตรงต่ออนิบาตไทยว่า โอ๊ะ ซึ่งใช้ต้นคำพูด," 05,0242,019,หนอ ใช้ข้างท้าย ใช้ในคำแสดงความสลดใจ กรอมใจ เรียกชื่อ