Book,Page,LineNumber,Text 05,0235,001,อุทาหรณ์ผูกเป็นแบบเทียบดังนี้: อยํ ทนฺโธ โหติ. โวสานํ ปน 05,0235,002,อนาปชฺชิตฺา นิจฺจเมว สตฺถํ สิกฺขติ. 05,0235,003,ครหโชตกนิบาต 05,0235,004,"๑๒. ถ้าความท่อนต้นกล่าวชม, ความท่อนหลังกล่าวติ, นิบาต" 05,0235,005,"ในความท่อนหลัง เรียกชื่อว่า ครหโชตโก, ในอรรถนี้ ใช้นิบาต" 05,0235,006,"คือ ปน ศัพท์เดียว, ตรงความไทย เหมือนสัมภาวนโชตก, ต่าง" 05,0235,007,แต่อุทาหรณ์ดังนี้; อุเปกฺขา สนฺตตฺตา สุขนฺเตฺวว สงฺขยํ คจฺฉติ 05,0235,008,สา ปน อนิจฺจโต ทุกฺขํเยว โหติ. (คันถาภรณนัย.) ความท่อนต้น 05,0235,009,"กล่าวชมอุเบกขาว่า เพราะเป็นเวทนาละเอียดนับว่าสุข, ความท่อนหลัง" 05,0235,010,กล่าวติว่า เพราะไม่เที่ยง จึงได้ชื่อว่าทุกข์; ปน ในท่อนหลัง 05,0235,011,เรียก ครหโชตโก เพราะส่องความติ. อุทาหรณ์ผูกเป็นแบบเทียบ 05,0235,012,ดังนี้: อยํ เฉโก โหติ. โวสานํ ปน อาปชฺชิตฺวา สพฺพปจฺฉโต 05,0235,013,โอหิยิ. 05,0235,014,(๑๖๓) นิบาตหมวดที่ ๒ ลงในบทหรือความอันเนื่องถึงกัน. 05,0235,015,สมุจจยัตถนิบาต 05,0235,016,๑. การควบพากย์ก็ดี บทก็ดี เข้าให้เป็นพวกเดียวกัน เรียก 05,0235,017,ว่า สมุจฺจโย. สมุจจยะนั้น จัดเป็น ๒ อย่าง คือ การควบพากย์ 05,0235,018,"กับพากย์ที่มีกัตตาเดียวกัน เรียกว่า วากฺยสมุจฺจโย, การควบบท"