Book,Page,LineNumber,Text
05,0230,001,อย่างนั้น. มีอุทาหรณ์ดังนี้: ปุญฺวา ปญฺวา จาติ อิเม เทฺว
05,0230,002,ชนา อิมสฺมึ โลเก ทุลฺลภา. เตสุ หิ ปญฺวาเยว ทุลฺลภตโร.
05,0230,003,(คันถาภรณนัย.) ความท่อนต้นแสดงคนมีบุญและคนมีปัญญาว่า
05,0230,004,"หายากในโลกโดยอาการที่ไม่แปลกกัน, ความท่อนหลังแสดงแปลก"
05,0230,005,ออกไปว่า คนมีปัญญาหายากกว่า; หิ ในท่อนหลังนั้น เรียกว่า
05,0230,006,วิเสสโชตโก เพราะส่องความที่แปลกออกไป. อุทาหรณ์ผูกไว้เป็น
05,0230,007,"ตัวอย่างดังนี้: ทานํปิ กุสลํ, สีลํปี กุสลํ, เตสุ ปน สีลํ ทานโต วรตรํ."
05,0230,008,ตัปปาฏิกรณโชตกนิบาต
05,0230,009,"๖. ถ้าความท่อนต้นกล่าวอรรถไม่ปรากฏชัด, ความท่อนหลัง"
05,0230,010,กล่าวให้ปรากฏชัดด้วยข้ออุปมา; นิบาตซึ่งเป็นเครื่องหมายความข้อนี้
05,0230,011,ในท่อนหลัง เรียกชื่อว่า ตปฺปาฏิกรณโชตโก หรือเรียกสั้นว่า
05,0230,012,"ตปฺปาฏิกรณํ แม้ในอรรถนี้ ก็ใช้นิบาต ๓ ศัพท์นั้น, ตรงความไทย"
05,0230,013,ว่า เหมือนอย่างว่า. มีอุทาหรณ์ดังนี้: นิคฺคหิตํ นาม สรํ นิสฺสาย
05,0230,014,"ติฏฺติ, ตสฺมึ วินฏฺเ อญฺํ นิสฺสาย ติฏฺติ. ยถา หิ สกุโณ"
05,0230,015,"ยํ รุกฺขํ นิสฺสาย นิลียติ; ตสฺมึ วินฏฺเ, อุปฺปติตฺวา อญฺํ"
05,0230,016,"นิสียติ; เอวเมว นิคฺคหิตํ ยํ สรํ นิสฺสาย ติฏฺติ, ตสฺมึ วินฏฺเ"
05,0230,017,อญฺํ นิสฺสาย ติฏฺติ (สารตฺถวิลาสินี ฏีกาคนฺถฏฺิ.) ความท่อนต้น
05,0230,018,"ไม่ปรากฏชัด, ความท่อนหลังมีอุปมาปรากฏชัด; หิ ในท่อนหลัง"
05,0230,019,นั้นเรียกว่า ตปฺปาฏิกรณโชตโก เพราะส่องอรรถที่ทำความข้อนั้น