Book,Page,LineNumber,Text 05,0227,001,วากยารัมภนิบาต 05,0227,002,๒. ถ้าความท่อนต้นที่แสดงไว้ยังไม่หมดความ เป็นเหตุให้ถาม 05,0227,003,ให้วิสัชนากันร่ำไป; จึงอธิบายต่อเสียในท่อนหลังทีเดียว ไม่ต้องให้ 05,0227,004,"ถาม, แต่ไม่ได้อธิบายซ้ำความเดิมเหมือนพากย์วิตถารโชดก, เป็น" 05,0227,005,แต่ปรารภความที่กล่าวแล้วในท่อนต้น กล่าวความเนื่องกันไปไม่ขาด 05,0227,006,สาย; นิบาตซึ่งเป็นเครื่องหมายความข้อนี้ในท่อนหลัง เรียกชื่อว่า 05,0227,007,"วากฺยารมฺภโชตโก หรือเรียกให้สั้นว่า วากฺยรมฺโภ, ในอรรถนี้ใช้" 05,0227,008,"นิบาต ๓ ศัพท์ คือ หิ, จ, ปน; ตรงความไทยว่า ก็, แล, ก็แล," 05,0227,009,"มีอุทาหรณ์ดังนี้: จตุมฺมคฺคผลนิพฺพานวเสน นววิโธ, ปริยตฺติยา สห" 05,0227,010,"ทสวิโธ วา ธมฺโม, ธารณญฺจ ปเนตสฺส อปายาทินิพฺพตฺตนกฺกิเลส-" 05,0227,011,วิทฺธํสน. (สงฺคหฏีกา) ความในท่อนต้น เป็นเหตุให้ถามว่าอย่างไร 05,0227,012,มรรค ๔ ผล ๔ กับพระนิพพาน เป็น ๙ ประการ ดังนี้บ้าง หรือรวม 05,0227,013,เข้ากับพระปริยัติด้วยเป็น ๑๐ ประการ จึงชื่อว่า พระธรรม พระ 05,0227,014,"ธรรมนั้นมีคุณอย่างไร ดังนี้บ้าง ก็ได้, ในท่อนหลังจึงแสดงเสีย" 05,0227,015,ทีเดียวว่า ความทรงพระธรรมนั้นไว้ กำจัดกิเลสซึ่งเป็นเหตุเกิดใน 05,0227,016,"อบายเป็นต้นได้, จ ในท่อนหลังนั้นเรียก วากฺยารมฺภโชตโก เพราะ" 05,0227,017,ส่องความที่ท้าวพากย์ก่อน. อุทาหรณ์ผูกไว้เป็นตัวอย่างดังนี้: วิริยํ 05,0227,018,นาม สมฺมา ปยุตฺตํ สุขมาวหติ. ตกฺการา หิ เตน อุปฺปาทิตํ สุขํ 05,0227,019,อธิคนฺตฺวา อตฺตโน วจนการก ตตฺถ นิโยเชนฺติ.