Book,Page,LineNumber,Text 05,0224,001,ข. ถ้าเป็นกิริยาที่กล่าวซ้ำกับกิริยาข้างต้น แสดงว่าทำสำเร็จแล้ว 05,0224,002,"เรียกชื่อว่า ปริโยสานกาลกิริยา. อุ. เยน ภควา, เตนุปสงกมิ; " 05,0224,003,อุปสงฺกมิตฺวา----นิสีทิ. 05,0224,004,"ค. ถ้าเป็นกิริยาที่ทำพร้อมกับกิริยาอื่น, เรียกชื่อว่า สมาน-" 05,0224,005,กาลกิริยา. อุ. ฉตฺตํ คเหตฺวา คจฺฉติ. ในที่นี้ ประสงค์คนเดิม 05,0224,006,"กั้นร่ม, ไม่ได้มุ่งกิริยาที่จับร่มก่อนแล้ว จึงไป." 05,0224,007,"ฆ. ถ้าเป็นกิริยาที่ทำทีหลังกิริยาอื่น, เรียกชื่อว่า อปรกาล-" 05,0224,008,"กิริยา. อุ. ธมฺมาสเน นิสีทิ จิตฺตวีชนึ คเหตฺวา, ในที่นี้ ประสงค์ว่า" 05,0224,009,พระธรรมกถึก ขึ้นนั่งบนธรรมาสน์แล้ว จึงจับพัดที่เขาวางไว้สำหรับ 05,0224,010,"บนธรรมาสน์นั้น อย่างบนธรรมาสน์ที่เทศนาในวันธัมมัสสวนะ, ไม่" 05,0224,011,ได้มุ่งความว่า พระธรรมกถึกนั่งตั้งพัดให้ศีลอยู่บนธรรมาสน์. ถ้ามุ่ง 05,0224,012,ความตามนัยหลัง ต้องเรียกชื่อว่า สมานกาลกิริยา. 05,0224,013,"ง. ที่ไม่สงเคราะห์เข้าในอรรถเหล่านี้; ถ้าเข้ากับนาม, เรียกว่า" 05,0224,014,วิเสสนํ. อุ. €เปตฺวา เทฺว อคฺคสาวเก อวเสสา อรหตฺตํ ปาปุณึสุ. 05,0224,015,"ถ้าเข้ากับกิริยา, เรียกว่า กิริยาวิเสสนํ. อุ. ตีณิ รตนานิ €เปตฺวา" 05,0224,016,อญฺํ เม ปฏิสรณํ นตฺถิ. 05,0224,017,"จ. ถ้ามีกตฺตาต่างจากกิริยาหลัง, เรียกชื่อว่า เหตุ. อุ. สีหํ" 05,0224,018,ทิสฺวา ภยํ อุปฺปชฺชติ. ในที่นี้ ทิสฺวา เป็นกิริยาของ ปุคฺคโล 05,0224,019,อุปฺปชฺชติ เป็นกิริยาของ ภยํ.