Book,Page,LineNumber,Text 04,0193,001,ถาเป็นนปุํสกลิงค์ เป็น ธมฺมวาหิ วิเคราะห์ก่อนเป็นกัตตุรูป กัตตุ- 04,0193,002,"สาธนะ ลงในอรรถแห่ง ตัสสีละ, วิเคราะห์หลัง เป็นสมาสรูป " 04,0193,003,ตัสสีลสาธนะ. สมาสรูป ตัสสีลสาธนะนี้ เห็นอย่างไร ๆ อยู่ จึงมีได้ 04,0193,004,จัดเข้าในสาธนะ. 04,0193,005,ปาปํ กโรติ สีเลนา-ติ ปาปการี. [ผู้ใด] ย่อมทำ ซึ่งบาป 04,0193,006,"โดยปกติ, เหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่าผู้ทำซึ่งบาปโดยปกติ. ปาป เป็น" 04,0193,007,บทหน้า กรฺ ธาตุ ในความ ทำ. 04,0193,008,ธมฺมํ จรติ สีเลนา - ติ ธมฺมจารี. [ผู้ใด] ย่อมประพฤติซึ่ง 04,0193,009,"ธรรม โดยปกติ, เหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่าผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ" 04,0193,010,"ธมฺม เป็นบทหน้า จรฺ ธาตุ ในความประพฤติ, ในความเที่ยว." 04,0193,011,ณฺวุ. 04,0193,012,"เทตี - ติ ทายโก. [ผู้ใด] ย่อมให้, เหตุนั้น [ผู้นั้น] ชื่อว่า" 04,0193,013,"ผู้ให้. ทา ธาตุ ในความให้, ยฺ ปัจจัยหลังธาตุ มี อา เป็นที่สุด" 04,0193,014,"ณฺวุ. เป็น อก, เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ, ถ้าอิตถีลิงค์เป็น ทายิกา." 04,0193,015,"เนตี - ติ นายโก. [ผู้ใด] ย่อมนำไป, เหตุนั้น ผู้นั้น ชื่อว่า" 04,0193,016,ผู้นำไป นี ธาตุ ในความ นำไป พฤทธิ์ อี เป็น เอ แล้วเอา 04,0193,017,เป็น อาย ด้วยอำนาจปัจจัยที่เนื่องด้วย เหมือนกล่าวแล้วใน 04,0193,018,โคตตตัทธิต (๑๐๓) 04,0193,019,"อนุสาสตี - ติ อนุสาสโก. [ผู้ใด] ย่อมตามสอน, เหตุนั้น" 04,0193,020,[ผู้นั้น] ชื่อว่าผู้ตามสอน. อนุ เป็นบทหน้า สาสฺ ธาตุ ในความ สอน.