Book,Page,LineNumber,Text 46,0007,001,อำนาจแห่งเหตุอันไม่ทั่วไป. แท้จริง พระผู้มีพระภาค ทรงอ้างผลด้วย 46,0007,002,"อำนาจแห่งเหตุอันไม่ทั่วไป ดังอุทาหรณ์ว่า ""หน่อข้าวเหนียวเสียงกลอง""" 46,0007,003,ฉะนั้น. อีกนัยหนึ่ง คำว่า จกฺขุนา นั่น เป็นคำบ่งถึงจักษุที่วิญญาณอาศัย 46,0007,004,แล้ว โดยโวหารว่าจักษุเป็นที่อาศัย ( แห่งวิญญาณ ) เหมือนอุทาหรณ์ว่า 46,0007,005,"""เตียงย่อมทำเสียงโห่"" ฉะนั้น. พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า อิตฺถี ปุริสนิมิตฺตํ" 46,0007,006,วา นี้ ดังต่อไปนี้: ทรวดทรงที่บุคคลยึดถือโดยมุ่งถึงรูป ๑ ความนูนแห่ง 46,0007,007,เนื้อถัน ๑ ความเป็นผู้มีปากไม่มีหนวด ๑ การเกล้าผมและการใช้ ( นุ่ง 46,0007,008,ห่ม ) ผ้า ๑ อิริยาบถต่าง ๆ มีการยืนการเดินไม่องอาจเป็นต้น ๑ ทั้งหมด 46,0007,009,อาศัยสันดานของหญิง ชื่อว่า สตรีนิมิต เพราะเป็นเหตุแห่งการรู้จักว่า 46,0007,010,"หญิง. บุรุษนิมิตพึงทราบโดยปริยายตรงกันข้ามจากคำที่กล่าวแล้ว, พึง" 46,0007,011,ทราบวินิจฉัยในคำว่า สุภนิมิตฺตาทิกํ วา นี้ ดังต่อไปนี้ : อาการที่น่า 46,0007,012,ปรารถนาอันเป็นเหตุเกิดราคะ ชื่อว่า สุภนิมิต : พึงทราบการสงเคราะห์ 46,0007,013,นิมิตทั้งหลายมีปฏิฆนิมิตเป็นต้น ด้วย อาทิ ศัพท์. ก็การสงเคราะห์นั้น 46,0007,014,พึงทราบว่าเป็นอาการอันไม่น่าปรารถนาเป็นต้น อันเป็นเหตุเกิดโทสะ 46,0007,015,เป็นอาทิ. ในบาลีในอปริหานิสูตรนี้ อภิชฌากับโทมนัสเท่านั้นมาโดยย่อ 46,0007,016,ก็จริง. ถึงกระนั้น บัณฑิตพึงปรารถนาการสงเคราะห์แม้ซึ่งอุเบกขานิมิต 46,0007,017,เข้าด้วย เพราะแม้โมหะอันเกิดขึ้นด้วยการเพ่งอารมณ์อันไม่เสมอ เป็น 46,0007,018,"อสังวร. จริงอย่างนั้น พระพุทธโฆษาจารย์กล่าวไว้ว่า ""ความเป็นผู้" 46,0007,019,"มีสติหลงลืม หรือความไม่รู้"" ก็อารมณ์อันเป็นที่ตั้งแห่งอัญญาณุเบกขา" 46,0007,020,( คือการวางเฉยเพราะความไม่รู้ ) ชื่อว่า อุเบกขานิมิต ในคำว่า 46,0007,021, 46,0007,022,๑. หมายถึงเตียงที่บุคคลอาศัยอยู่ โดยเป็นสมุทาจารโวหารเรียกรวม.