Book,Page,LineNumber,Text 07,0027,001,แบบสนธิตามวิธีสํสกฤต 07,0027,002,วิธีทำสนธิในภาษาบาลีนั้น ตามพระมหาสมณาธิบายว่า อาจ 07,0027,003,น้อมไปให้ต้องตามสนธิกิริโยปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตนชอบใจ ถ้า 07,0027,004,ไม่ผิดแล้ว ก็เป็นอันใช้ได้ ไม่เหมือนภาษาสํสกฤต เพราะภาษา 07,0027,005,สํสกฤต มีวิธีข้อบังคับเป็นแบบเดียว จะยักเยื้องเป็นอย่างอื่นไป 07,0027,006,ไม่ได้ และได้ทรงเลืองวิธีทำสนธิในภาษาสํสกฤตมาทรงอธิบายไว้ 07,0027,007,ข้างท้ายหนังสืออักขรวิธี ภาคที่ ๑ ซึ่งถือเอาใจความดังต่อไปนี้:- 07,0027,008,๑. ถ้าสระหน้าและสระหลัง มีรูปเหมือนกัน เอาสระทั้งสองนั้น 07,0027,009,ผสมกันเข้า เป็นทีฆะตามรูปของตน ดังนี้:- 07,0027,010,อ กับ อ ผสมกัน เป็น อา 07,0027,011,"อิ "" อิ "" "" อี" 07,0027,012,"อุ "" อุ "" "" อู" 07,0027,013,"อา "" อา "" "" อา" 07,0027,014,"อี "" อี "" "" อี" 07,0027,015,"อู "" อู "" "" อู" 07,0027,016,๒. ถ้าสระหน้าและสระหลัง มีรูปไม่เหมือนกัน เอาสระทั้งสอง 07,0027,017,นั้นผสมกัน เป็นรูปดังนี้:- 07,0027,018,อ กับ อิ หรือ อี เป็น เอ 07,0027,019,"อา "" อิ "" อี "" เอ" 07,0027,020,"อ "" อุ "" อู "" โอ" 07,0027,021,"อา "" อุ "" อู "" โอ"