Book,Page,LineNumber,Text 01,0018,001,สระสนธิ 01,0018,002,[ ๑๙ ] ในสระสนธิ ได้สนธิกิริโยปกรณ์เบื้องต้นครบทั้ง ๘ ขาด 01,0018,003,แต่ สฺโโค อย่างเดียว. โลโป ที่ต้นมี ๒ คือ ลบสระหน้า ๑ ลบ 01,0018,004,สระหลัง ๑. สระที่สุดของศัพท์หน้า เรียกสระหน้า สระหน้าของ 01,0018,005,ศัพท์หลัง เรียกสระเบื้องปลาย หรือสระหลัง เมื่อสระทั้ง ๒ นี้ไม่มี 01,0018,006,พยัญชนะอื่นคั่นในระหว่าง ลบได้ตัวหนึ่ง ถ้าพยัญชนะคั่น ลบ 01,0018,007,"ไม่ได้ ลบสระเบื้องต้น ท่านวางอุทาหรณ์ไว้ดังนี้ ยสฺส-อินฺทฺริยานิ," 01,0018,008,"ลบสระหน้า คือ อ ในที่สุดแห่งศัพท์ ยสฺส เสีย สนธิเป็น ยสฺสินฺทฺริยานิ," 01,0018,009,โนหิ -เอตํ ลบสระหน้า คือ อิ ที่สุดแห่งศัพท์ โนหิ เสีย สนธิเป็น 01,0018,010,"โนเหตํ, สเมตุ-อายสฺมา ลบสระหน้าคือ อุ ที่สุดแห่งศัพท์ สเมตุ" 01,0018,011,เสีย สนธิเป็น สเมตายสฺมา. ในอุทาหรณ์เหล่านี้ สระหน้าเป็นรัสสะ 01,0018,012,สระเบื้องปลาย อยู่หน้าพยัญชนะสังโยคบ้าง เป็นทีฆะบ้าง จึงเป็น 01,0018,013,แต่ลบสระหน้าอย่างเดียว ถ้าสระทั้ง ๒ เป็นรัสสะมีรูปเสมอกัน คือ 01,0018,014,เป็น อ หรือ อิ หรือ อุ ทั้ง ๒ ตัว เมื่อลบแล้วต้องทำสระที่ไม่ได้ 01,0018,015,ลบด้วยทีฆะสนธิที่แสดงไว้ข้างหน้า เหมือน อุ. ว่า ตตฺร-อยํ เป็น 01,0018,016,ตตฺรายํ เป็นต้น. [ ถ้าสระทั้ง ๒ เป็นรัสสะ แต่มีรูปไม่เสมอกัน คือ 01,0018,017,ข้างหนึ่งเป็น อ ข้างหนึ่งเป็น อิ หรือ อุ ก็ดี ข้างหนึ่งเป็น อิ ข้าง 01,0018,018,หนึ่งเป็น อุ หรือ อ ก็ดี ข้างหนึ่งเป็น อุ ข้างหนึ่งเป็น อ หรือ อิ ก็ดี 01,0018,019, 01,0018,020, ๑. ตามวิธีใช้อักษรในภาษามคธ ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 01,0018,021,เรียงเมื่อ พ. ศ. ๒๔๖๒ ทรงแนะนำไว้ในข้อ ๑๙ ว่า บทหรือศัพท์ที่เป็นสระโลปสนธิ เมื่อ 01,0018,022,ลบสระตัวหนึ่งเสียแล้ว จักทีฆะสระที่เหลือเช่น ตตฺร-อิเม เป็น ตตฺรีเม วิ-อติกฺกโม เป็น 01,0018,023,วีติกฺกโม ยกเลิกแบบว่า สระสั้น มีรูปไม่เสมอกัน เข้าสนธิ ไม่ทีฆะ ฯ