Book,Page,LineNumber,Text
42,0008,001,ธรรมสมควรแก่นวโลกุตตรธรรม. ในบุคคล ๔ จำพวกนั้น จำพวก
42,0008,002,"ต้น พระผู้มีพระภาคตรัสหมายเอาผู้มีสุตะน้อย และเป็นผู้ทุศีล, "
42,0008,003,"จำพวกที่ ๒ มีสุตะน้อย (แต่) เป็นผู้สิ้นอาสวะ, จำพวกที่ ๓ มีสุตะ"
42,0008,004,"มาก (แต่) เป็นผู้ทุศีล, จำพวกที่ ๔ มีสุตะมาก และเป็นผู้สิ้น"
42,0008,005,"อาสวะ."""
42,0008,006,"อรรถกถาแห่งสูตรนั้น ว่า "" บทว่า อสมาหิโต คือไม่ทำให้"
42,0008,007,บริบูรณ์. บาทคาถาว่า สีลโต จ สุเตน จคือ ทั้งโดยส่วนศีล
42,0008,008,"ทั้งโดยส่วนสุตะ, อธิบายว่า บัณฑิตทั้งหลายย่อมติเตียนเขาอย่างนี้"
42,0008,009,"ว่า "" ผู้นี้ทุศีล (ทั้ง) มีสุตะน้อย."" บาทคาถาว่า ตสฺส สมฺปชฺชเต"
42,0008,010,สุตํ ความว่า เพราะกิจคือสุตะอันบุคคลนั้นทำแล้วด้วยสุตะนี้ ฉะนั้น
42,0008,011,สุตะของเขาจึงชื่อว่าถึงพร้อม. สองบทว่า นาสฺส สมฺปชฺชเต
42,0008,012,ความว่า เพราะเขาไม่ทำกิจคือสุตะ สุตะจึงไม่ถึงพร้อม. บทว่า
42,0008,013,ธรฺมธรํ ได้แก่เป็นผู้รับรองธรรมคือสุตะ. บทว่า สปฺปฺํ คือมี
42,0008,014,ปัญญาดี. บาทคาถาว่า นิกฺขํ ชมฺพูนทสฺเสว ความว่า ทองคำ
42,0008,015,"ธรรมชาติ เรียกกันว่า ทองชมพูนุท, ดุจแท่งทองชมพูนุทนั้น,"
42,0008,016,อธิบายว่า เหมือนลิ่มทองหนัก ๕ สุวรรณ๑.
42,0008,017,แม้พระอานนทเถระ อาศัยความที่ตนเป็นพหุสูต จึงถึงความ
42,0008,018,"เป็นผู้อันพระศาสดาทรงสรรเสริญว่า ""ภิกษุทั้งหลาย อานนท์เป็น"
42,0008,019,"ยอดของภิกษุสาวกทั้งหลายของเราผู้เป็นพหุสูต๒."" อนึ่งภิกษุผู้เป็น"
42,0008,020,พหุสูต ย่อมเป็นผู้มีลาภเกิดขึ้นโดยไม่ยาก. ในข้อนั้น มีเรื่องดังต่อ
42,0008,021,
42,0008,022,๑. ตามมาตรา ๕ สุวรรณ เป็น ๑ นิกขะ. ๒. องฺ. เอก. ๒๐/๓๒.