Book,Page,LineNumber,Text 13,0032,001,ใน อุ. คู่นี้ อุ. ที่หนึ่งแสดงรูปเป็นพหุวจนะคือ ปพฺพชิตา. อุ. 13,0032,002,ที่สองแสดงรูปเป็นเอกวจนะคือ ปพฺพชิโต และไม่ได้เขียนกรรมแห่ง 13,0032,003,วทามิไว้ ต้องเข้าในเอาเองคือ ปุคฺคลํ. 13,0032,004,[ ๒ ] ในพากย์เป็นกัตตุวาจก บทสรูปในอิติศัพท์ประกอบเป็น 13,0032,005,ปฐมาวิภัตติ ไม่ประกอบเป็นทุติยาวิภัตติ เหมือนบทนามนามที่เป็น 13,0032,006,"อวุตตกัมมในกิริยา, ทั้งนี้เพราะมีอิติศัพท์คั่น จึงถือเป็นขาดตอนกัน" 13,0032,007,"ได้. เทียบดูกับ สัมภาวนะ จะเห็นว่าความเท่ากัน, เพราะฉะนั้น จึง" 13,0032,008,ไม่พ้นจากคุณนามไปได้. ตัวอย่างเทียบกันเช่น นาหํ ภิกฺขเว พหุํ 13,0032,009,ภาสิตฺวา ปเร วิเห€ยมานํ ปณฺฑิโต-ติ วทามิ. เขมินํ ปน อเวรํ 13,0032,010,"อภยเมว ปณฺฑิตํ วทามิ. [ ฉพฺพคฺคิยา. ๗/๔๕ ] ""ภิกษุ ท., เรา" 13,0032,011,"ไม่กล่าวบุคคลผู้พูดมากเบียดเบียนคนอื่นว่าเป็นบัณฑิต, แต่เรากล่าว" 13,0032,012,"บุคคลผู้มีความเกษม ไม่มีเวร ไม่มีภัย เท่านั้นว่าเป็นบัณฑิต.""" 13,0032,013,สรูปอธิบาย : สรูปเป็นคุณนามหรือนามนามที่ใช้ดุจคุณนามที่ 13,0032,014,เนื่องในอิติศัพท์. 13,0032,015,ข้อสังเกตการสัมพันธ์บทว่า สรณํ 13,0032,016,[ ๑ ] บทว่า สรณํ ในพากย์ว่า พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ หรือว่า 13,0032,017,โย จ พุทฺธฺจ ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ สรณํ คโต เป็นอาทิ มีมติ 13,0032,018,สังเกต :- 13,0032,019,ก. ว่าในมหาสัททนีติ และตามสมันตปาสาทิกา [ ๑/๑๙๒ ] 13,0032,020,"เติม อิติ ว่า สรณนฺติ คจฺฉามิ. เมื่อเติม อิติ, สรณํ จึงสรูปใน อิติ และ"