Book,Page,LineNumber,Text 13,0005,001,"หลายอย่าง แต่ได้อรรถพิเศษว่า เวฬุ (ไม้ไผ่) , เวฬุ จึงเป็น วิเสสลาภี" 13,0005,002,แปลว่า 'ไม่มีหนาม คือไม้ไผ่.' 13,0005,003,วิเสสลาภีนี้ มีอรรถเช่นเดียวกับ อวาธารณปุพพบท กัมมธารย- 13,0005,004,สมาส ดังเช่นตัวอย่างว่า พุทฺโธ เอว รตนํ พุทฺธรนตํ (รตนะคือ 13,0005,005,"พระพุทธเจ้า), ในสมาสนี้ ประกอบด้วย เอว ศัพท์ อันเป็นอวธาร-" 13,0005,006,ณัตถะ เพื่อจะห้ามเนื้อความอื่นเสีย เพราะรตนะมีมากชนิด แต่ในที่นี้ 13,0005,007,ได้อรรถพิเศษว่า พระพุทธเจ้า. พึงทราบอุ. ดังต่อไปนี้ :- 13,0005,008,อุ. ที่ ๑ 13,0005,009,"ทุกฺขํ อริยสจฺจํ, ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ, ทุกฺขนิโรดธ อริยสจฺจํ," 13,0005,010,"ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ. ""อริยสัจ คือ ทุกข์, อริริยสัจ" 13,0005,011,"คือ ทุกขสมุทัย, อริยสัจ คือ ทุกขนิโรธ, อริยสัจ คือ ปฏิปทา" 13,0005,012,"ที่ให้ถึงทุกขนิโรธ.""" 13,0005,013,ในตัวอย่างนี้ มีอธิบายว่า ที่ชื่อว่าอริยสัจยังกว้าง แต่ในที่นี้ 13,0005,014,อริยสัจ บทที่ ๑ ได้อรรถพิเศษว่า ทุกข์ ฯลฯ อริยสัจ บทที่ ๔ 13,0005,015,"ได้อรรถพิเศษว่า ทุกนิโรธคามีนีปฏิปทา, ทุกขํ เป็นต้น จึงเป็น" 13,0005,016,"วิเสสลาภี, ในเวลาสัมพันธ์ใช้เรียกว่า วิเสสลาภี ของบทนามนามที่" 13,0005,017,"เกี่ยวเนื่องกัน เช่น ทุกฺขํ วิเสสลาภี ของ อริยสจฺจํ, พึงทราบอธิบาย" 13,0005,018,ดังนี้ทุกแห่ง 13,0005,019,ทุกฺขนฺติ ปทํ อริยสจฺจนฺติ ปทสฺส วิเสสลาภี. อริยสจฺจนฺติ ปทํ 13,0005,020,ลิงคตฺโถ. ฯ เป ฯ