Book,Page,LineNumber,Text 11,0049,001,วิเคราะห์ในกิตกิจจปัจจัย 11,0049,002,อ ปัจจัย 11,0049,003,ปัจจัยนี้ เมื่อลงประกอบกับธาตุ ย่อมลบเสีย เพราะไม่มีตัว อ 11,0049,004,ปรากฏ แต่ที่ปรากฏได้ก็คือเสียงสระ ะ ที่ติดอยู่ท้ายธาตุ และปัจจัยนี้ 11,0049,005,มีหลักพึงสังเกตดังต่อไปนี้ คือ :- 11,0049,006,๑. ถ้ามีศัพท์หน้าเป็นกัมม ให้ลง นุ อาคม. 11,0049,007,๒. บางศัพท์มีกัมมเป็นบทหน้า แต่ไม่ลง นุ อาคม เช่นนี้ 11,0049,008,ต้องซ้อนพยัญชนะลงต้นธาตุ. 11,0049,009,๓. ถ้าไม่มีกัมมเป็นบทหน้า ลง นุ อาคมไม่ได้. 11,0049,010,๔. เฉพาะ ททฺ ธาตุ ซึ่งมี ปุร เป็นบทหน้า ให้แปลง อ 11,0049,011,แห่ง ปุร เป็น อึ. 11,0049,012,๑. ถ้ามีศัพท์หน้าเป็นกัมม ให้ลง นุ อาคม หมายความว่า 11,0049,013,ตัวที่นำหน้าธาตุเป็นตัวกัมม คือ เป็นทุติยาวิภัตติ ให้ลง นุ อาคม 11,0049,014,อุ. ทีปงฺกโร เป็น ทีป บทหน้า กรฺ ธาตุ ลง นุ อาคมที่ศัพท์อันเป็น 11,0049,015,ที่สุดแห่งบทหน้า แปล นุ นั้น เป็นนิคคหิต แล้วจึงแปลงนิคคหิตนั้น 11,0049,016,เป็น งฺ เพราะมี ก อยู่หลัง วิ. ว่า ทีปํ กโรตี-ติ ทีปงฺกโร. 11,0049,017,(ชนใด) ย่อมทำ ซึ่งที่พึ่ง เหตุนั้น (ชนนั้น ) ชื่อว่า ผู้นำซึ่งที่พึ่ง 11,0049,018,เป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะ. 11,0049,019,เวสฺสนฺตโร เป็น เวสฺส บทหน้า ตฺร ธาตุ ลง นุ อาคมที่ ส 11,0049,020,อันเป็นที่สุดของศัพท์หน้า แปลง นุ เป็นนิคคหิต แล้วจึงแปลงนิคคหิต