Book,Page,LineNumber,Text
11,0031,001,ซึ่งธรรมเป็นปกติ).
11,0031,002,ค. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ เช่น กามโภคี กาม (กาม) เป็นบท
11,0031,003,หน้า ภุช. ธาตุ ลง ณี เสียคงไว้แต่ ี พฤทธิ อุ ที่ ภุ เป็น
11,0031,004,โอ แปลง ชฺ เป็น คฺ ตั้ง วิ. ว่า กามํ ภุญฺชติ สีเลสนา-ติ กามโภคี.
11,0031,005,(ชนใด) ย่อมบริโภค ซึ่งกาม โดยปกติ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า
11,0031,006,กามโภคี (ผู้บริโภคซึ่งกามโดยปกติ). หรือตั้งเป็นสมาสรูปตัสสีล-
11,0031,007,สาธนะว่า กามํ ภุญฺชิตุํ สีลมสฺสา-ติ กามโภคี การบริโภค ซึ่ง
11,0031,008,กาม เป็นปกติ ของชนนั้น เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า กามโภคี
11,0031,009,(ผู้มีการบริโภคซึ่งกามเป็นปกติ).
11,0031,010,๒. ต้นธาตุเป็นทีฆะหรือมีตัวสะกด ห้ามมิให้พฤทธิ์
11,0031,011,หมายความว่า อักษรตัวหน้าธาตุเป็นทีฆะ คือเป็นสระยาวอยู่แล้ว
11,0031,012,"เช่น ภาสฺ, ชีวฺ เป็นต้น หรือที่มีตัวสะกดซึ่งเรียกว่า พยัญชนะสังโยค."
11,0031,013,"เช่น ลกฺข, จินฺต, มนฺต เป็นต้น เหล่านี้ไม่ต้องพฤทธิ์"
11,0031,014,ก. ต้นธาตุเป็นทีฆะ เช่น สุภาสิตภาสี สุภาสิต (คำอันเป็น
11,0031,015,สุภาษิต) เป็นบทหน้า ภาสฺ ธาตุ ลง ณี ลบ ณ เสียคงไว้แต่ ี ตั้ง
11,0031,016,วิ. ว่า สุภาสิตํ ภาสติ สีเลนา-ติ สุภาสิตภาสี. (ชนใด) ย่อม
11,0031,017,กล่าว ซึ่งคำอันเป็นสุภาษิต โดยปกติ เหตุนั้น (ชนนั้น) ชื่อว่า
11,0031,018,"สุภาสิตภาสี (ผู้กล่าวซึ่งคำอันเป็นสุภาษิตโดยปกติ), หรือตั้งเป็น"
11,0031,019,สมาสรูปตัสสีลสาธนะว่า สุภาสิตํ ภาสิตุํ สีลมสฺสา-ติ สุภาสิต-
11,0031,020,ภาสี. การกล่าว ซึ่งคำอันเป็นสุภาษิต เป็นปกติ ของชนนั้น เหตุนั้น