Book,Page,LineNumber,Text 07,0006,001,ก ข ค ฆ ง ๕ ตัวนี้ เรียกว่า ก วรรค 07,0006,002,"จ ฉ ช ฌ  ๕ ตัวนี้ "" จ """ 07,0006,003,"ฏ € ฑ ฌ ณ ๕ ตัวนี้ "" ฏ """ 07,0006,004,"ต ถ ท ธ น ๕ ตัวนี้ "" ต "" " 07,0006,005,"ป ผ พ ภ ม ๕ ตัวนี้ "" ป "" " 07,0006,006,ในพยัญชนะ ๕ วรรคนี้ วรรคใด มีพยัญชนะตัวใดนำหน้า 07,0006,007,วรรคนั้น ก็ชื่อว่าเรียกตามพยัญชนะตัวนั้น เช่นวรรคที่ ๑ มี นำหน้า 07,0006,008,เรียกว่า ก วรรค และวรรคที่ ๒ มี จ นำหน้า เรียกว่า จ วรรค 07,0006,009,ดังนี้เป็นต้น. 07,0006,010,พยัญชนะอีก ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ ํ แต่ละตัวมี 07,0006,011,ฐานกรณ์ต่างกัน ไม่เกิดร่วมฐานกรณ์เดียวกัน จึงจัดเป็น อวรรค 07,0006,012,แปลว่าไม่เป็นพวกกัน ตามฐานกรณ์ที่เกิด. 07,0006,013,๕. พยัญชนะ คือ ํ เรียกว่านิคคหิต ก็มี เรียกว่า อนุสาร 07,0006,014,ก็มี. นิคคหิต แปลว่า กดสระ คือ กดเสียงหรือกดกรณ์ คือ กด 07,0006,015,อวัยวะที่ทำเสียง เวลาที่จะว่า ไม่ต้องอ้าปากเกินกว่าปกติ เหมือน 07,0006,016,ว่าทีฆสระ ส่วนคำว่า อนุสาร แปลว่า ไปตาม คือพยัญชนะ คือ ํ 07,0006,017,นี้ต้องไปตามหลังสระที่เป็นรัสสะ คือ อ อิ อุ เสมอ เช่นคำว่า อหํ 07,0006,018,เสตุํ อกาสึ เป็นต้น พยัญชนะ คือ ํ นี้ นับว่าแปลกกว่าพยัญชนะ 07,0006,019,อื่น ๆ เพราะพยัญชนะอื่น ๆ ตามที่เขียนด้วยอักษรไทย เอาสระเรียง 07,0006,020,ไว้ข้างหน้าบ้าง ช้างหลังบ้าง ข้างบนบ้าง ข้างล่างบ้าง และอาจ 07,0006,021,เรียงได้ไม่จำกัด เช่น