Book,Page,LineNumber,Text 04,0158,001,"กิริยาที่เป็นกัตตุวาจก, อัตตโนบท เป็นเครื่องหมายให้รู้กิริยาที่เป็น " 04,0158,002,"กัมมวาจกและภาววาจก อันจะกล่าวข้างหน้า, แต่จะนิยมลงเป็นแน่" 04,0158,003,ทีเดียวก็ไม่ได้. บางคราวปรัสสบทเป็นกัมมวาจกและภาววาจกก็มี 04,0158,004,"เหมือนคำบาลีว่า ""สทิโส เม น วิชฺชติ. คนเช่นกับ ด้วยเรา " 04,0158,005,๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ 04,0158,006,[อันใคร ๆ] ย่อมหา ไม่ได้. น จ ลพฺภติ รูเป. อนึ่ง [อัน 04,0158,007,๔ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๒ 04,0158,008,"ใคร ๆ] ย่อมไม่ ได้ ในรูป"" เป็นต้น." 04,0158,009,๑ ๓ ๔ 04,0158,010,บางคราว อัตตโนบทเป็นกัตตุวาจกก็มี เหมือนคำบาลีว่า 04,0158,011,"""ปิยโต ชายเต โสโก ความโศก ย่อมเกิด แต่ของที่รัก."" เป็นต้น." 04,0158,012,๑ ๒ ๓ ๓ ๒ ๑ 04,0158,013,คำที่กล่าวข้างต้นนั้น ประสงค์เอาแต่บทที่เป็นไปโดยมาก ถ้า 04,0158,014,จำกำหนดให้ละเอียดแล้ว ต้องอาศัยปัจจัยด้วย. 04,0158,015,วจนะ 04,0158,016,(๑๑๒) วิภัตตินั้น จัดเป็นวจนะ ๒ คือ เอกวจนะ ๑ พหุวจนะ ๑. 04,0158,017,เหมือนวิภัตตินาม ถ้าศัพท์นามที่เป็นประธานเป็นเอกวจนะ ต้อง 04,0158,018,"ประกอบกิริยาศัพท์เป็นเอกวจนะตาม, ถ้านามศัพท์เป็นพหุวจนะ ก็" 04,0158,019,"ต้องประกอบกิริยาศัพท์เป็นพหุวจนะตาม, ให้มีวจนะเป็นอันเดียวกัน" 04,0158,020,อย่างนี้ :-