Book,Page,LineNumber,Text 45,0009,001,มือหรือรัดเข่าด้วยผ้า ก็หรือทำการคะนองมือ และเท้าอย่างอื่น อัน 45,0009,002,พระเถระมิได้เชื้อเชิญพูดในสำนักของภิกษุผู้แก่ทั้งหลาย ภิกษุนี้ ชื่อว่า 45,0009,003,"ไม่เคารพในพระสงฆ์. "" " 45,0009,004,[ ลักษณะความไม่เคารพในสิกขา ] 45,0009,005,"อรรถกถาสังคีติสูตรว่า "" ก็ภิกษุไม่ยังสิกขา ๓ ให้บริบูรณ์เทียว" 45,0009,006,"ชื่อว่า ไม่เคารพในสิกขา. """ 45,0009,007,"ฎีกาสังคีติสูตรว่า "" ภิกษุผู้ชื่อว่า ไม่ทำให้บริบูรณ์ในสิกขา แม้" 45,0009,008,ด้วยเหตุสักว่าความไม่เอื้อเฟื้อเท่านั้น ชื่อว่า ไม่เคารพในสิกขา เพราะ 45,0009,009,"เหตุนั้น พระอรรถกถาจารย์ จึงกล่าวว่า "" ผู้ไม่ให้บริบูรณ์เทียว ชื่อ" 45,0009,010,"ว่า ไม่มีความเคารพในสิกขา. """ 45,0009,011,[ ลักษณะความไม่เคารพในสมาธิ ] 45,0009,012,"อรรถกถากัสสปสังยุตว่า "" ภิกษุผู้ไม่ยังสมาบัติ ๘ ให้เกิดขึ้น ก็หรือ" 45,0009,013,ไม่ทำความพยายามเพื่อต้องการยังสมาบัติ ๘ นั้นให้เกิดขึ้น ชื่อว่า ผู้ไม่ 45,0009,014,"เคารพในสมาธิ. """ 45,0009,015,[ ลักษณะความไม่เคารพในความไม่ประมาท ] 45,0009,016,"อรรถกถาสังคีติสูตรว่า "" ภิกษุผู้ไม่พอกพูนธรรมที่มีความไม่ประ" 45,0009,017,มาทเป็นลักษณะ ชื่อว่า ไม่เคารพในความไม่ประมาท. ภิกษุผู้ไม่ 45,0009,018,กระทำปฏิสันถารแม้ทั้ง ๒ อย่าง ชื่อว่า ไม่เคารพในปฏิสันถาร. 45,0009,019,ความเคารพ บัณฑิตพึงทราบด้วยสามารถแห่งนัยอันตรงกันข้ามกับ 45,0009,020,"คำที่กล่าวแล้ว. """ 45,0009,021, 45,0009,022,๑. สุ. วิ. ๓/๒๙๕. ๒. สา. ป. ๒/๒๙๕.